Page 23 - รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการวิจัยการป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ของประเทศไทย และความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านในอาเซียน
P. 23

ความเห็นเรื่องการเจรจาความเป็นไปได้เรื่องการจัดท าอนุสัญญาอาเซียนว่าด้วยการต่อต้านการค้ามนุษย์
                   ให้กับส านักเลขาธิการอาเซียน ซึ่งประเทศสมาชิกเห็นชอบในหลักการในการจัดท าอนุสัญญาดังกล่าว และ

                   เห็นว่า ควรส่งเสริมให้แต่ละประเทศมีการด าเนินงานด้านกฎหมายภายในประเทศในเรื่องการค้ามนุษย์
                   อย่างจริงจัง
                          ส าหรับประเทศไทย การให้ความส าคัญกับการปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์เพิ่งเกิดขึ้น
                   เมื่อสิบปีที่ผ่านมา โดยเมื่อวันที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๔๗ นายกรัฐมนตรีในขณะนั้นได้ประกาศเจตนารมณ์ใน

                   การปูองกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ ให้การค้ามนุษย์เป็นวาระแห่งชาติ  และอีก ๔ ปีต่อมามีการออก
                   พระราชบัญญัติปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑ อย่างเป็นทางการซึ่งกฎหมายฉบับ
                   ดังกล่าวเป็นเครื่องมือส าหรับจัดการปัญหาการค้ามนุษย์ในประเทศไทยที่นับวันยิ่งทวีความรุนแรงมากขึ้น
                   แต่ในทางปฏิบัติพบว่า มีปัญหาอุปสรรคในการบังคับใช้กฎหมายฉบับนี้เป็นอย่างมาก มูลนิธิกระจกเงาได้

                   ท าการสรุปบทเรียนการบังคับใช้พระราชบัญญัติปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ได้ ๕
                   ประการ คือ
                          ประการแรก  การพิจารณาในชั้นพนักงานสอบสวน  การน าผู้เสียหายเข้าสู่การแจ้งความร้องทุกข์
                   ในชั้นพนักงานสอบสวนมักไม่ค่อยปรากฏการแจ้งความโดยผู้เสียหายโดยล าพัง แต่จะอาศัยกลไกการน า

                   ผู้เสียหายเข้าร้องทุกข์ โดยองค์กรพัฒนาเอกชน หรือ หน่วยงานของรัฐ เช่น พัฒนาสังคมและความมั่นคง
                   ของมนุษย์จังหวัด เป็นต้น ผู้เสียหายส่วนมากไม่ประสงค์จะด าเนินการทางกฎหมายตั้งแต่แรก ดังนั้น การ
                   ให้ความรู้และการสนับสนุนให้ผู้เสียหายเข้าถึงกระบวนการทางกฎหมายจึงเป็นสิ่งที่มีความส าคัญ

                   ยิ่ง  ปัญหาและอุปสรรคส าคัญประการแรกจึงเป็นเรื่องความรู้ของพนักงานสอบสวนในการตั้งข้อกล่าวหา
                   แก่ผู้กระท าความผิด เนื่องด้วยพระราชบัญญัติปูองกันและปราบปรามการค้ามนุษย์เป็นกฎหมายใหม่ที่เพิ่ง
                   บังคับใช้ ดังนั้น พนักงานสอบสวนจ านวนมากจึงไม่มีความรู้เรื่องกฎหมายค้ามนุษย์เมื่อมีการร้องทุกข์แจ้ง
                   ความจึงมักจะตั้งข้อหาตามกฎหมายอาญามากกว่าเนื่องจากมีความชัดเจนและคุ้นเคยกว่า   และหาก
                   ผู้เสียหายเป็นเด็กที่อายุต่ ากว่า ๑๘  ปี ด้วยแล้ว กระบวนการสอบสวนจะต้องด าเนินการตามประมวล

                   กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาโดยจะต้องเชิญทีมสหวิชาชีพมาร่วมการสอบปากค าด้วย ซึ่งพนักงาน
                   สอบสวนหลายคนต่างมีความเห็นว่าเป็นกระบวนการที่ค่อนข้างยุ่งยาก ทั้งจะต้องมีสถานที่ที่เหมาะสมและ
                   มีอุปกรณ์ที่สามารถท าการบันทึกการสอบปากค าได้   ดังนั้น หลายกรณีที่ผู้เสียหายเป็นเด็กจะถูกตัดตอน

                   ในกระบวนการชั้นพนักงานสอบสวนโดยการไม่รับแจ้งความหรือหากเป็นแรงงานข้ามชาติก็จะถูกผลักดัน
                   ส่งกลับประเทศต้นทางในฐานะบุคคลเข้าเมืองโดยมิชอบด้วยกฎหมาย
                          ประการที่สอง เป็นการตัดตอนการพิจารณาในชั้นพนักงานสอบสวนทางอ้อม กล่าวคือ เมื่อ
                   หน่วยงานต่างๆ พาผู้เสียหายไปแจ้งความร้องทุกข์ในเบื้องต้นแล้ว พนักงานสอบสวนมักจะยังไม่ลงรับเป็น

                   เลขคดีตามระเบียบ แต่มักจะสอบข้อเท็จจริงเบื้องต้นก่อน แล้วค่อยท าการนัดผู้เสียหายมาสอบปากค าตาม
                   ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาอีกครั้งในภายหลัง ซึ่งการปฏิบัติในลักษณะนี้ประวิงเวลา
                   ประมาณ ๑-๔  สัปดาห์ เป็นผลให้ผู้เสียหายหลายกรณี ซึ่งได้รับการพักฟื้นอยู่ในบ้านพักชั่วคราวในพื้นที่
                   เกิดเหตุ  มักจะเปลี่ยนใจไม่ประสงค์จะด าเนินคดี และขอกลับภูมิล าเนาโดยไม่เอาเรื่องเอาราวกับใคร

                   ประกอบกับข้าราชการต ารวจมักมีการโยกย้ายต าแหน่งเสมอท าให้ขาดความต่อเนื่องในการด าเนินการ
                   และบางคดีต้องถูกทิ้งไปโดยไม่สามารถติดต่อพนักงานสอบสวนคนเดิมได้ หรือกรณีการคัดแยกเหยื่อจาก
                   การค้ามนุษย์ในที่เกิดเหตุ หลายกรณีพบว่าเจ้าหน้าที่ต ารวจใช้หลักเกณฑ์แตกต่างกันไม่เป็น




                                                              ๓
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28