Page 92 - รายงานผลการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ
P. 92
๖๕
(๕) กำรมีส่วนร่วมในระดับข้อมูลข่ำวสำร ซึ่งเป็นระดับต่ ำสุดในกำรมีส่วนรวม บทบำท
ของประชำชนจะน้อยมำกเพรำะรัฐจะเป็นเพียงผู้ให้ข้อมูลกับประชำชนเพียงด้ำนเดียว และประชำชนไม่มี
โอกำสแสดงควำมคิดเห็น เช่น กำรจัดท ำป้ำย กำรแจกวำรสำร แต่อย่ำงไรก็ตำมกำรทรำบข้อมูลข่ำวสำร
ก็มีควำมจ ำเป็นต่อกำรมีส่วนร่วมในระดับที่สูงขึ้น เพรำะถ้ำประชำชนไม่ทรำบข้อมูลที่ครบถ้วน
กำรตัดสินใจที่สมเหตุสมผลคงไม่เกิดขึ้น
ดังนั้น จึงสำมำรถกล่ำวได้ว่ำ กำรมีส่วนร่วมของประชำชนมีหลำยระดับ กำรเลือก
รูปแบบและระดับกำรมีส่วนร่วมของประชำชนจึงมีควำมส ำคัญ เพรำะจะเป็นตัวชี้วัด กำรกระจำยอ ำนำจ
สู่ท้องถิ่นกับกำรมีส่วนร่วมของประชำชนในท้องถิ่นมีประสิทธิภำพมำกน้อยเพียงใด และเป็นแนวทำง
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประเมินว่ำตน มีระดับกำรมีส่วนร่วมอยู่ในระดับใด ทั้งนี้เพื่อที่จะพัฒนำ
สู่กำรมีส่วนร่วมของท้องถิ่นตนสู่ระดับที่สูงขึ้น ซึ่งเมื่อน ำมำเปรียบเทียบกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย
จักพบว่ำ มีทุกระดับ แต่ระดับที่พบมำกคือ กำรมีส่วนร่วมในระดับข้อมูลข่ำวสำรและกำรมีส่วนร่วม
ในระดับหำรือ ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่ำ กำรมีส่วนร่วมของประชำชนกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังมีอยู่
แต่ให้ควำมส ำคัญในเรื่องดังกล่ำวในระดับน้อย
รูปแบบของกำรมีส่วนร่วมของประชำชนในกำรปกครองส่วนท้องถิ่นของไทย คือ
กำรมีส่วนร่วมของประชำชนที่บัญญัติไว้ในกฎหมำยรัฐธรรมนูญ หมวด ๓ ว่ำด้วยสิทธิเสรีภำพของชนชำวไทย
กำรมีส่วนร่วมของประชำชนตำมบทบัญญัติในหมวด ๓ ว่ำด้วยสิทธิเสรีภำพของชนชำวไทยนั้น ได้ระบุ
กำรมีส่วนร่วมไว้หลำยประกำร ประกำรแรก จำกมำตรำ ๕๖ ของรัฐธรรมนูญ พุทธศักรำช ๒๕๔๐
ที่ได้บัญญัติให้ประชำชนมีสิทธิ ที่จะมีส่วนร่วมกับรัฐและชุมชนในกำรบ ำรุงรักษำและกำรได้ประโยชน์
จำกทรัพยำกรธรรมชำติ และควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ รวมถึงกำรคุ้มครอง ส่งเสริม และรักษำ
คุณภำพสิ่งแวดล้อม
นอกจำกนั้น รัฐธรรมนูญฉบับดังกล่ำวยังได้ก ำหนดสิทธิในกำรเข้ำถึงข้อมูลข่ำวสำรของ
ประชำชนตำมมำตรำ ๕๘ ได้มีบทบัญญัติเกี่ยวกับสิทธิในกำรเข้ำถึงข้อมูลข่ำวสำรของประชำชน โดยถือ
สิทธิที่ประชำชนสำมำรถรับทรำบข้อมูลข่ำวสำรสำธำรณะในควำมครอบครองของหน่วยงำนรำชกำร
หน่วยงำนของรัฐ รัฐวิสำหกิจ หรือรำชกำรส่วนท้องถิ่นได้
กำรมีส่วนร่วมของประชำชนในท้องถิ่นอีกรูปแบบหนึ่งที่ส ำคัญ คือ กำรจัดท ำ
ประชำพิจำรณ์ (Public hearing) ซึ่งเป็นกระบวนกำรให้ประชำชนได้มีส่วนร่วมแสดงควำมคิดเห็นก่อน
กำรออกกฎ ค ำสั่ง หรือกำรตัดสินใจของฝ่ำยบริหำรที่จะมีผลต่อสิทธิของประชำชนต่ำง ๆ ซึ่งมักจะเป็น
เรื่องที่เกี่ยวข้องกับกำรที่รัฐต้องกำรจะด ำเนินนโยบำยที่อำจมีผลกระทบต่อผลประโยชน์สำธำรณะ ชุมชน
หรือประชำชนจ ำนวนมำก นอกจำกนั้น กำรมีส่วนร่วมของประชำชนในลักษณะนี้ยังถือว่ำเป็นกำรแสวงหำ
ควำมรู้เพื่อกำรตัดสินใจของสังคมร่วมกัน ค้นหำทำงออกที่อำจมีมำกกว่ำที่เป็นอยู่ โดยอำจร่วมกัน
พิจำรณำข้อดีและข้อเสียของแต่ละทำงเลือก เพื่อเป็นกำรเรียนรู้จำกทุกฝ่ำยให้สำมำรถร่วมกันหำทำงเลือก
อื่นๆ ได้เพิ่มมำกขึ้น