Page 87 - รายงานผลการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ
P. 87
๖๐
2) สิทธิทำงเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (Economic Social and Cultural
Rights) เช่น สิทธิในกำรศึกษำ สิทธิที่จะจัดตั้งสหพันธ์กรรมกร สิทธิในมำตรฐำนกำรครองชีพอันเพียงพอ
ส ำหรับ สุขภำพ และควำมเป็นอยู่ที่ดีของตนและครอบครัว สิทธิในกำรพักผ่อนและเวลำว่ำง รวมทั้ง
กำรจ ำกัดเวลำท ำงำนตำมสมควร เป็นต้น
หำกพิจำรณำถึงลักษณะเฉพำะของสิทธิต่ำงๆ ที่รัฐจะต้องเคำรพและให้
กำรคุ้มครองอำจแบ่งสิทธิตำมปฏิญญำสำกลว่ำด้วยสิทธิมนุษยชนออกเป็น 6 กลุ่ม คือ (1) สิทธิในควำม
ปลอดภัย (Security Rights) ซึ่งคุ้มครองประชำชนจำกอำชญำกรรม เช่น กำรฆำตกรรม กำรฆ่ำล้ำงเผ่ำพันธุ์
กำรทรมำน กำรข่มขืน (2) สิทธิในกระบวนกำรยุติธรรม (Due Process Rights) คุ้มครองประชำชน
จำกกำรบิดเบือนระบบกฎหมำย เช่น กำรจ ำคุกโดยไม่มีกำรด ำเนินคดี กำรด ำเนินคดีโดยลับ กำรลงโทษ
เกินควำมจ ำเป็น (3) สิทธิในเสรีภำพ (Liberty Rights) คุ้มครองเสรีภำพของประชำชนในเรื่องควำมเชื่อ
กำรแสดงควำมคิดเห็น กำรสมำคม กำรชุมนุม และกำรเคลื่อนไหวต่ำง ๆ (4) สิทธิทำงกำรเมือง (Political
Rights) คุ้มครองเสรีภำพในกำรมีส่วนร่วมทำงกำรเมือง โดยกำรกระท ำต่ำง ๆ เช่น กำรติดต่อสื่อสำร
กำรรวมกลุ่ม กำรประท้วง กำรเลือกตั้ง และกำรเข้ำเป็นเจ้ำหน้ำที่ของรัฐ (5) สิทธิในควำมเสมอภำค
(Equality Rights) ซึ่งเป็นหลักประกันควำมเสมอภำคในควำมเป็นพลเมือง ควำมเสมอภำคเบื้องหน้ำ
กฎหมำย และกำรไม่เลือกปฏิบัติ (6) สิทธิในสวัสดิกำรสังคม (Social or Welfare Rights) ซึ่งเรียกร้องให้
มีกำรจัดกำรศึกษำส ำหรับเด็ก และคุ้มครองป้องกันควำมยำกจนและควำมอดอยำก ส ำหรับสิทธิของกลุ่ม
(Group Rights) นั้น มิได้มีกำรรับรองในปฏิญญำฯ แต่มีกำรรับรองไว้ในสนธิสัญญำต่ำงๆ เช่น กำรคุ้มครอง
ชนกลุ่มน้อยจำกกำรถูกฆ่ำล้ำงเผ่ำพันธุ์ และควำมเป็นเจ้ำของเขตแดนและทรัพยำกรของรัฐ (ภิรมย์
ศรีประเสริฐ, 2551)
(2) แนวคิดเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนกับสังคมไทย
ในประเทศไทย สิทธิมนุษยชนก่อตัวเป็นรูปร่ำงหรือได้รับควำมคุ้มครองจำกรัฐ
เกิดขึ้นอย่ำงจริงจังเมื่อมีกำรประกำศใช้รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช 2540 โดยใน
รัฐธรรมนูญนี้ได้บัญญัติให้มีองค์กรขึ้นมำองค์กรหนึ่งเรียกว่ำ คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ โดยมี
โครงสร้ำงและอ ำนำจหน้ำที่ตำมบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช 2540
ดังนี้
คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ ประกอบด้วย ประธำนกรรมกำรหนึ่งคน
และกรรมกำรอื่นอีกสิบคน ซึ่งพระมหำกษัตริย์ทรงแต่งตั้งตำมค ำแนะน ำของวุฒิสภำจำกผู้ซึ่งมีควำมรู้หรือ
ประสบกำรณ์ด้ำนกำรคุ้มครองสิทธิเสรีภำพของประชำชนเป็นที่ประจักษ์ โดยต้องค ำนึงถึงกำรมีส่วนร่วม
ของผู้แทนจำกองค์กำรเอกชนด้ำนสิทธิมนุษยชนด้วย มีวำระกำรด ำรงต ำแหน่ง 6 ปี นับแต่วันที่
พระมหำกษัตริย์ทรงแต่งตั้ง และให้ด ำรงต ำแหน่งได้เพียงวำระเดียว โดยกรรมกำรซึ่งพ้นจำกต ำแหน่ง
ตำมวำระต้องปฏิบัติหน้ำที่ต่อไปจนกว่ำกรรมกำรซึ่งได้รับแต่งตั้งใหม่ที่จะเข้ำรับหน้ำที่
กำรท ำงำนขององค์กรอิสระที่มีหน้ำที่ในกำรตรวจสอบกำรใช้อ ำนำจรัฐทุกองค์กร
หรือองค์กรที่มีกำรจัดรูปแบบกำรท ำงำนในแบบคณะกรรมกำรหรือคณะบุคคลต้องมีหน่วยงำนที่มีหน้ำที่