Page 89 - รายงานผลการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ
P. 89

๖๒



                                  (ก) ควำมเป็นปัจเจกไม่ได้เป็นตัวตั้งของโลกทัศน์ในกำรจัดควำมสัมพันธ์กับ

               สิ่งต่ำงๆ ในชุมชน ซึ่งส่งผลให้รูปแบบในกำรจัดกำรไม่มีระบบกรรมสิทธิ์เด็ดขำดในปัจจัยกำรผลิตที่ส ำคัญ
               เช่น ที่ดิน ที่ป่ำ หรือในแหล่งอำหำรที่เกิดขึ้นหรือมีอยู่ในที่ต่ำงๆ

                                  (ข) มีระบบในกำรจัดกำรโครงสร้ำงพื้นฐำนที่ส ำคัญของชุมชนร่วมกัน เช่น

               กำรจัดกำรน้ ำในระบบชลประทำน กำรป้องกันชุมชนหมู่บ้ำนจำกภัยในรูปแบบต่ำง ๆ ซึ่งน่ำจะเป็น
               รำกฐำนส ำคัญ  ของระบบกรรมสิทธิ์รวมที่มีชื่อเรียกต่ำงกันไปในแต่ละวัฒนธรรม เช่น ในภำคเหนือ

               เรียกระบบในกำรจัดกำรของส่วนรวมว่ำเป็น “ของหน้ำหมู่” ภำคอีสำน เรียกว่ำ “ดอนปู่ตำ” ภำคใต้เรียก
               ทำงเดินสำธำรณะซึ่งเป็นสิ่งที่ใช้ร่วมกันของชุมชนว่ำ “ทำงพลี”  วิถีชีวิตของชุมชนดังกล่ำวนี้ แตกต่ำงกัน

               ออกไปตำมสภำพถิ่นที่อยู่อำศัย เป็นวิถีชีวิตที่สื่อควำมหมำยในแง่ของกระบวนกำรเรียนรู้และองค์ควำมรู้
               เกี่ยวกับระบบทรัพย์สินและสิทธิร่วมกันของชุมชนที่มีควำมสัมพันธ์โดยตรงต่อแหล่งระบบนิเวศที่แตกต่ำง

               หลำกหลำย  กันออกไป เป็นระบบควำมรู้ในระบบนิเวศที่มีนัยควำมหมำยทั้งในทำงศีลธรรมและระเบียบ
               ข้อบังคับหรือกฎหมำยซึ่งอำศัยเกณฑ์คุณค่ำและมำตรฐำนทำงศีลธรรมและจิตวิญญำณเป็นสภำพบังคับ

               ยิ่งไปกว่ำนั้น ภูมิปัญญำของชุมชนยังมีระบบและกระบวนกำรเรียนรู้ที่เป็นพลวัตร ซึ่งอำศัยประสบกำรณ์
               ผ่ำนกำรทดสอบเชิงประจักษ์อย่ำงเป็นระบบ จึงสำมำรถปรับตัวได้ตำมกำลเวลำที่เปลี่ยนแปลงไป ทั้งยัง

               เป็นระบบควำมรู้และวัฒนธรรมกำรเรียนรู้อย่ำงเป็นองค์รวม

                                   ต่อมำได้มีกำรบัญญัติกฎหมำย พระรำชบัญญัติ ส่งเสริมและรักษำคุณภำพ

               สิ่งแวดล้อมแห่งชำติ พ.ศ. 2535 มาตรา 6 ได้บัญญัติว่า “เพื่อประโยชน์ในการร่วมกันส่งเสริมและรักษา
               คุณภาพสิ่งแวดล้อมของชาติ บุคคลอาจมีสิทธิและหน้าที่ได้รับข้อมูลและข่าวสารจากทางราชการในเรื่องที่

               เกี่ยวกับการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม เว้นแต่ข้อมูลหรือข่าวสารที่ทางราชการถือว่า
               เป็นความลับเกี่ยวข้องกับการรักษาความมั่นคงแห่งชาติหรือเป็นความลับเกี่ยวกับสิทธิส่วนบุคคล สิทธิ

               ในทรัพย์สิน หรือสิทธิในทางการค้า หรือกิจการของบุคคลใดที่ได้รับความคุ้มครองทางกฎหมาย....”

                                   จำกหลักกฎหมำยฉบับนี้ถือว่ำประเทศไทยเริ่มมีวิวัฒนำกำรเกี่ยวกับกำรบังคับใช้
               กฎหมำย ที่เปิดโอกำสให้ประชำชนได้มีส่วนร่วม “ปัจเจกชนสำมำรถเข้ำถึงข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับ

               สิ่งแวดล้อม ซึ่งอยู่ในควำมครอบครองของหน่วยงำนรัฐได้ สำมำรถเข้ำไปมีส่วนร่วมในกระบวนกำร
               ตัดสินใจของภำครัฐได้”  หมำยควำมถึง กำรจัดกำรสิ่งแวดล้อมจะท ำได้ดีที่สุดเมื่อประชำชนมีส่วนร่วม

               ในทุกระดับ และรัฐจะต้องส่งเสริมและอ ำนวยควำมสะดวกให้ประชำชนได้รับข้อมูลข่ำวสำรมีส่วนร่วม
               ในกระบวนกำรตัดสินใจและเข้ำถึงกระบวนกำรทำงปกครองและกฎหมำย รวมทั้งกำรเยียวยำ

               ควำมเสียหำย

                                   เมื่อมีกำรประกำศใช้รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช 2540 หรือ

               รัฐธรรมนูญฉบับประชำชน นับเป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกที่มีกำรบัญญัติรับรองเกี่ยวกับ “สิทธิชุมชน”
               ไว้ โดยชัดเจนดังปรำกฏ ตำมมำตรำ 46 มำตรำ 56 มำตรำ 59 มำตรำ 69 และมำตรำ 79 และต่อมำ

               รัฐธรรมนูญ แห่งรำชอำณำจักรไทย พ.ศ. 2550 ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันนั้น ยังคงไว้ซึ่งหลักกำร
               ในกำรรับรองเกี่ยวกับสิทธิชุมชน โดยบัญญัติเรื่องสิทธิชุมชนไว้เป็นกำรเฉพำะในหมวด 3 สิทธิและ
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94