Page 90 - รายงานผลการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ
P. 90
๖๓
เสรีภำพของชนชำวไทย ส่วนที่ 12 สิทธิชุมชน นอกจำกนี้ยังได้มีกำรขยำยสิทธิชุมชน โดยกำรเพิ่ม “สิทธิ
ของชุมชน” และ “สิทธิของชุมชนท้องถิ่น” ซึ่งหำกพิจำรณำเทียบกับรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย
พุทธศักรำช 2540 แล้ว ได้บัญญัติรับรองและคุ้มครองไว้แต่เฉพำะ “สิทธิของชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม”
เท่ำนั้น ทั้งนี้ เพื่อให้ครอบคลุมถึงกรณีกำรรวมตัวกันของบุคคลขึ้นเป็นชุมชนโดยไม่จ ำเป็นต้องเป็นกำร
รวมตัวกันมำเป็นเวลำนำนจนถือว่ำเป็นชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม (มำตรำ 66) นอกจำกนี้กำรด ำเนินโครงกำร
หรือกิจกรรมที่อำจก่อให้เกิดผลกระทบอย่ำงรุนแรงต่อคุณภำพสิ่งแวดล้อมทรัพยำกรธรรมชำติและสุขภำพ
ของประชำชน จะต้องมีกำรศึกษำและประเมินผลกระทบต่อคุณภำพสิ่งแวดล้อมและสุขภำพของ
ประชำชนในชุมชนและจัดให้มีกระบวนกำรรับฟังควำมคิดเห็นของประชำชนและผู้มีส่วนได้เสียก่อน
รวมทั้งจะต้องให้องค์กำรอิสระให้ควำมเห็นประกอบก่อนมีกำรด ำเนินกำรดังกล่ำว (มำตรำ 67 วรรคสอง)
ดังนั้น กำรบัญญัติค ำว่ำ “สิทธิชุมชน” ไว้ให้เป็นที่ปรำกฏในรัฐธรรมนูญ
แห่งรำชอำณำจักรไทยนั้น อำจจะกล่ำวได้ว่ำเป็นเพียงวำทกรรมที่เพิ่งเกิดขึ้นใหม่เพื่อเป็นกำรรองรับ และ
คุ้มครองสิทธิอีกด้ำนหนึ่ง ซึ่งเกิดขึ้นและด ำรงอยู่มำช้ำนำนเพรำะโดยแท้จริงแล้ว “สิทธิชุมชน” นั้น
เป็นอุดมกำรณ์ที่มีควำมเกี่ยวพันแนบแน่นกับวิถีชีวิต ควำมเป็นอยู่ และวัฒนธรรมชุมชนมำเป็นระยะเวลำ
ยำวนำน โดยมีกฎเกณฑ์ที่ไม่ปรำกฏเป็นลำยลักษณ์อักษรแฝงอยู่ในวิถีชีวิตชุมชนซึ่งมีควำมศักดิ์สิทธิ์
ที่สมำชิกในชุมชนนั้นๆ ต่ำงได้ยึดถือและปฏิบัติร่วมกัน หรืออำจจะกล่ำวได้ว่ำ “สิทธิชุมชน” เป็นผลสืบ
เนื่องมำจำกกำรรวมตัวของกลุ่มชนเป็นชุมชนที่มีอัตลักษณ์หรือส ำนึกควำมเป็นตัวตนร่วมกัน โดยตั้งอยู่
บนหลักกำรพื้นฐำน ว่ำด้วยควำมยั่งยืนและเป็นธรรม ค ำนึงถึงกำรอยู่รอดร่วมกันของชุมชนและสังคม
ส่วนรวม โดยที่ชุมชนมีเสรีภำพในกำรก ำหนดกติกำ ก ำหนดวิถีชีวิต เศรษฐกิจ และแบบแผนกำรจัดกำร
ทรัพยำกรที่เหมำะสมกับระบบนิเวศและวัฒนธรรมของตน
อย่ำงไรก็ตำมแม้ “สิทธิชุมชน” จะได้เกิดขึ้นและด ำรงอยู่มำช้ำนำน รวมทั้งมี
กำรบัญญัติรับรองไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย อันเป็นกฎหมำยสูงสุดของประเทศก็ตำม
แต่กระบวนกำรในกำรใช้สิทธิชุมชนตำมที่รัฐธรรมนูญบัญญัติรับรองไว้ หรือกระบวนกำรในกำรใช้สิทธิ
เรียกร้องต่อหน่วยงำนของรัฐเพื่อให้ปฏิบัติหน้ำที่ตำมที่รัฐธรรมนูญบัญญัติรับรองไว้ของภำคประชำชนหรือ
ภำคประชำสังคมนั้นยังไม่อำจบังเกิดผลในทำงปฏิบัติได้อย่ำงเป็นรูปธรรม เนื่องจำกกำรใช้สิทธิดังกล่ำวนั้น
จะต้องเป็นไปตำมที่กฎหมำยบัญญัติไว้ด้วย ดังนั้น เมื่อยังไม่มีบทบัญญัติของกฎหมำยที่ออกมำรองรับสิทธิ
ดังกล่ำว จึงไม่สำมำรถที่จะอ้ำงสิทธิของชุมชนหรือเรียกร้องเพื่อให้หน่วยงำนของรัฐปฏิบัติหน้ำที่ตำมที่
รัฐธรรมนูญบัญญัติรับรองไว้ได้ (ค ำวินิจฉัยศำลรัฐธรรมนูญที่ 36/2548)
ปัญหำดังกล่ำวได้มีควำมพยำยำมที่จะแก้ไขเยียวยำโดยรัฐธรรมนูญ
แห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช 2550 โดยบทบัญญัติในหมวด 3 สิทธิและเสรีภำพของชนชำวไทย
ส่วนที่ 12 สิทธิชุมชน นอกจำกจะได้มีกำรขยำยสิทธิชุมชนแล้วยังมีเจตนำรมณ์ที่จะท ำให้กำรใช้สิทธิและ
เสรีภำพของประชำชนมีประสิทธิภำพและมีมำตรกำรคุ้มครองที่ชัดเจนมำกยิ่งขึ้น ด้วยกำรตัดถ้อยค ำว่ำ
“ทั้งนี้ ตำมที่กฎหมำยบัญญัติ” ออกจำกบทบัญญัติที่เกี่ยวกับสิทธิและเสรีภำพในหลำยมำตรำ อันส่งผล
ท ำให้สิทธิและเสรีภำพของประชำชนได้เกิดขึ้นทันทีตำมรัฐธรรมนูญ