Page 86 - รายงานผลการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ
P. 86

๕๙



                                       มำตรำ ๑๘ ให้กรุงเทพมหำนครมีอ ำนำจและหน้ำที่ในกำรจัดระบบบริกำร

                   สำธำรณะเพื่อประโยชน์ของประชำชนในท้องถิ่นของตนเองตำมมำตรำ ๑๖ และมำตรำ ๑๗

                   (ส ำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ, ๒๕๔๒)


                          2.2.3 แนวคิดเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน


                                 ค ำว่ำสิทธิมนุษยชนเป็นค ำที่เกิดขึ้นใหม่หลังสงครำมโลกครั้งที่สอง แต่แนวคิดเกี่ยวกับ

                   สิทธิมนุษยชนมีมำนำนแล้วตั้งแต่สมัยกรีก สิทธิมนุษยชนเป็นสิทธิที่มิได้อยู่นิ่งเฉยแต่เป็นผลมำจำก
                   วิวัฒนำกำรของกระบวนกำรเรียกร้องของกลุ่มผลประโยชน์ต่ำงๆ ที่อ้ำงควำมชอบธรรมของประโยชน์นั้นๆ

                   ว่ำเป็นสิ่งจ ำเป็นต่อควำมเป็นมนุษย์ โดยมีฐำนทำงกฎหมำยในกำรเรียกร้อง ในแต่ละยุคแต่ละสมัยมีกำรใช้
                   ค ำอื่นที่มีควำมหมำยใกล้เคียงกับค ำว่ำสิทธิมนุษยชนแตกต่ำงออกไป ซึ่งค ำที่ใช้นั้นขึ้นอยู่กับพื้นฐำนทำง

                   ควำมคิดที่ใช้ในกำรสนับสนุนควำมชอบธรรมในกำรกล่ำวอ้ำงหรือเรียกร้องสิทธินี้ เช่น สิทธิธรรมชำติ อันมี
                   พื้นฐำนทำงควำมคิดอิงอยู่กับศำสนำของกรีกโบรำณ สิทธิของมนุษย์ อันมีพื้นฐำนควำมคิดทำงกำรเมือง

                   ที่ก่อตัวในศตวรรษที่ 18 หรือหลักนิติธรรม อันพื้นฐำนควำมคิดทำงนิติศำสตร์ที่เรียกร้องให้มีกระบวนกำร
                   คุ้มครองสิทธิของพลเมืองอย่ำงเป็นธรรม


                                 พัฒนำกำรของสิทธิมนุษยชนอำจแบ่งได้เป็นสองยุค โดยถือเอำกำรจัดตั้งสหประชำชำติ
                   เป็นจุดแบ่ง คือ ยุคก่อนกำรจัดตั้งสหประชำชำติซึ่งสิทธิมนุษยชนจะผูกติดอยู่กับควำมคิดในเรื่องสิทธิ

                   ธรรมชำติ เพื่อให้มีกำรคุ้มครองโดยกฎหมำยภำยใน และยุคหลังกำรจัดตั้งสหประชำชำติที่สิทธิมนุษยชน
                   มีกำรพัฒนำอย่ำงรวดเร็วมีกำรเรียกร้องสิทธิใหม่ๆ เพิ่มขึ้นหลำยด้ำน ท ำให้สิทธิมนุษยชนมีลักษณะ

                   เป็นสิทธิสำกล ที่มีกำรคุ้มครองโดยกฎหมำยระหว่ำงประเทศและสถำบันระหว่ำงประเทศ (วิชัย ศรีรัตน์,
                   2557)

                                 ปฏิญญำสำกลว่ำด้วยสิทธิมนุษยชน ไม่มีนิยำมค ำว่ำ “สิทธิมนุษยชน”  ไว้โดยเฉพำะ

                   เจำะจง แต่มีแนวควำมคิดพื้นฐำนของสิทธิมนุษยชนที่กล่ำวถึงควำมอิสระเสรี มีศักดิ์ศรีและสิทธิเท่ำเทียมกัน
                   กำรปฏิบัติต่อกันอย่ำงฉันพี่น้อง  กำรมีสิทธิและเสรีภำพตำมที่ระบุไว้ในปฏิญญำฯ โดยไม่มีกำรจ ำแนก

                   ควำมแตกต่ำงในเรื่องเชื้อชำติ สีผิว เพศ ภำษำ ศำสนำ ควำมเห็นทำงกำรเมือง ชำติ หรือสังคมอันเป็น
                   ที่มำเดิม ทรัพย์สิน ก ำเนิด หรือสถำนะอื่นใด


                                 (1) การจ าแนกประเภทของสิทธิมนุษยชนตามหลักปฏิญญาสากล

                                       จำกแนวควำมคิดพื้นฐำนของสิทธิมนุษยชนตำมหลักปฏิญญำสำกลดังกล่ำว
                   ข้ำงต้น สำมำรถจ ำแนกสิทธิมนุษยชนออกเป็นประเภทต่ำงๆ โดยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มหลัก ได้แก่


                                       1) สิทธิของพลเมืองและสิทธิทำงกำรเมือง (Civil and Political Rights) ได้แก่
                   สิทธิตำมธรรมชำติที่มีมำแต่ดั้งเดิม คือ สิทธิในกำรด ำรงชีวิต เสรีภำพ ทรัพย์สิน ควำมเสมอภำค

                   ควำมยุติธรรม กำรแสวงหำควำมสุข
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91