Page 182 - รายงานผลการศึกษาวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดแนวเขตที่ดินของรัฐ
P. 182

๑๕๕



                   ของกรมธนารักษ์  พบว่า ในการก าหนดพื้นที่สงวนหวงห้ามและก าหนดให้พื้นที่ใดเป็นขอบเขตตามที่

                   กฎหมายก าหนดดังกล่าว มีการก าหนดให้มีแผนที่ หรือรูปแผนที่แนบท้าย หรือก าหนดรูปแผนที่ไว้ใน
                   กฎหมายนั้นด้วย แนวเขตที่ก าหนดในรูปแผนที่ตามกฎหมายตามที่กล่าวมา ล้วนกระทบสิทธิในที่ดินของผู้

                   ถือครองท าประโยชน์ที่มีอยู่ก่อนการประกาศให้พื้นที่นั้นเป็นกฎหมาย

                          เมื่อพิจารณากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน และการมีส่วนร่วมของประชาชน ทั้งที่
                   รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕4๐ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช

                   2550 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕7  (ฉบับชั่วคราว) ได้มีบทบัญญัติ

                   ที่เกี่ยวข้องกับหลักสิทธิมนุษยชนและการมีส่วนร่วมของประชาชนเอาไว้ โดยมีกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ
                   หลักสิทธิมนุษยชนและการมีส่วนร่วมของประชาชนซึ่งออกตามความแห่งรัฐธรรมนูญดังกล่าว

                   ประกอบด้วย พระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ.  2542  พระราชบัญญัติข้อมูล

                   ข่าวสารของราชการ พ.ศ.  2540  ก าหนดสิทธิรับรู้ข้อมูลข่าวสารของประชาชน ความส าคัญของการใช้

                   สิทธิของประชาชน โดยหลักการและแนวคิดของพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
                   ก าหนดให้ประชาชนมีโอกาสรับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการด าเนินการต่างๆ ของรัฐ รับรองสิทธิของ

                   ประชาชนในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของราชการที่อยู่ในครอบครองของรัฐ ข้อมูลข่าวสารของข้อมูล

                   ราชการเกือบทั้งหมด หรือส่วนใหญ่สามารถเปิดเผยได้ พร้อมก าหนดช่องทางเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร

                   สิทธิของประชาชนในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของราชการ นอกจากนี้ยังมี พระราชบัญญัติก าหนดแผน
                   และขั้นตอนการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ ก าหนดให้มีส านักงาน

                   คณะกรรมการการกระจายอ านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอยู่ภายใต้ส านักงานปลัดส านัก

                   นายกรัฐมนตรี ที่ก าหนดอ านาจหน้าที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมของประชาชน

                          ส าหรับความเชื่อมโยงของสิทธิมนุษยชน การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร การมีส่วนร่วมของประชาชน

                   และการกระจายอ านาจสู่ท้องถิ่น รวมไปถึงการก าหนดสิทธิชุมชน บุคคล และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
                   ในการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ จัดการและใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมร่วมกับรัฐ

                   ได้ก าหนดไว้ในกฎหมายหลายฉบับ แต่ไม่ได้ให้ความส าคัญกับการมีส่วนร่วมของประชาชน ท าให้มีความ

                   ขัดแย้งในเชิงปฏิบัติด้านหลักการปฏิบัติ และด้านสิทธิของประชาชน ประชาชนไม่ได้มีส่วนร่วมในการ

                   ก าหนดแนวเขตพื้นที่สงวนหวงห้ามของรัฐ ส่งผลให้ซ้อนทับที่ดินท ากินของประชาชน ท าให้ประชาชนไม่ได้
                   รับสิทธิอย่างถูกต้องตามกฎหมาย


                          การมีส่วนร่วมของประชาชน ซึ่งแบ่งระดับการมีส่วนร่วมเป็น ๕ ขั้น โดยแต่ละขั้นจะเรียงล าดับ

                   จากการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมมากที่สุดไปถึงระดับน้อยที่สุด ดังนี้  (๑) การมีส่วนร่วมในระดับ
                   ให้อ านาจกับประชาชน (๒) การมีส่วนร่วมในระดับสร้างความร่วมมือ (๓) การมีส่วนร่วมในระดับการเข้ามี

                   บทบาท  (๔) การมีส่วนร่วมในระดับหารือ เป็นลักษณะการให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูล
                   ข้อเท็จจริง ความรู้สึก ความคิดเห็นประกอบการตัดสินใจ ดังนั้น ประชาชนจึงมีบทบาทในการให้เฉพาะ
   177   178   179   180   181   182   183   184   185   186   187