Page 76 - มาตรฐานและแนวทางการดำเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
P. 76

การรักษาความลับ



                      ผู้ร้องเรียนและพยานควรได้รับการคุ้มครอง หากสถานการณ์บ่งชี้ว่าจะเกิดอันตรายจากคู่กรณี ดังนั้น สถาบันสิทธิมนุษยชน

                    แห่งชาติควรพัฒนาโครงสร้างและกระบวนการที่สนับสนุนการรักษาความลับ โดยการเริ่มต้นด้วยการรับข้อร้องเรียนและ
                    การด�าเนินงานในกระบวนการตรวจสอบหาข้อเท็จจริงอย่างต่อเนื่องเท่าที่สามารถจะท�าได้

                       เจ้าหน้าที่ผู้ด�าเนินการต้องแจ้งคู่กรณีและพยานให้ทราบว่าข้อมูลที่ได้ให้การไว้อาจถูกใช้เพื่อ

                    เตรียมรายงานการสอบสวน และอาจเป็นไปได้ที่จะใช้เพื่อการป้องกันตนเองในการขึ้นศาล เมื่อมี
                    ความปลอดภัยภายใต้ความดูแลของกฎหมาย ผู้ให้สัมภาษณ์จะต้องมีข้อมูลประกอบการตัดสินใจว่า
                    จะด�าเนินการต่อไปหรือไม่ เพราะฉะนั้นจึงเป็นสิ่งที่ส�าคัญอย่างมากที่เจ้าหน้าที่ผู้ด�าเนินการสอบสวน

                    ต้องไม่ให้ค�าสัญญาในการกระท�าใด ๆ ซึ่งพวกเขาไม่ได้อยู่ในต�าแหน่งที่สามารถรับประกันได้







                         การแจ้งผู้ถูกร้องเรียน



                       กฎหลักของกระบวนการยุติธรรมก�าหนดให้สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ แจ้งผู้ที่ถูกร้องเรียนให้ทราบถึงข้อร้องเรียน

                    และให้ระยะเวลาที่เหมาะสมในการชี้แจงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น  ลักษณะของการตอบสนองจะส่งผลต่อขอบเขตในการสืบสวน
                    ตัวอย่างเช่น  หากผู้ที่ถูกร้องเรียนยอมรับผิดตามเหตุการณ์ที่ผู้ร้องเรียนกล่าวอ้าง  อาจจะแสดงให้เห็นว่าจะสามารถไกล่เกลี่ยได้
                    หากผู้ถูกร้องเรียนยอมรับข้อกล่าวหาเพียงบางส่วน ส่วนที่ยอมรับนั้นก็ไม่จ�าเป็นต้องมีการสืบสวนต่อไป


                       มาตรฐานของการหาข้อพิสูจน์ควรต้องมีก�าหนดไว้ในคู่มือ
                    เกี่ยวกับขั้นตอนในการสืบสวนการพิจารณาควรได้รับการ

                    ยินยอมให้ใช้มาตรฐานของกฎหมายแพ่งเพื่อพิจารณาว่า
                    ฝ่ายใดน่าเชื่อถือมากกว่ากัน  (balance  of  probabilities)

                    มากกว่าการพิจารณาโดยใช้มาตรฐานของกฎหมายอาญาใน
                    เรื่อง  “ปราศจากข้อสงสัย”  (beyond  reasonable  doubt)
                    มาตรฐานนี้อาจเหมาะสมปัญหาที่มีหลักฐาน ซึ่งพบได้บ่อยใน

                    หลายสถานการณ์ที่สงสัยว่ามีการละเมิดสิทธิมนุษยชน และ
                    ข้อเท็จจริงที่ว่าวัตถุประสงค์ของกลไกการตรวจสอบหาข้อเท็จ
                    จริงส่วนใหญ่ คือ การเยียวยามากกว่าการลงโทษ



                       สถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติอาจมีการเชิญผู้เชี่ยวชาญมาเพื่อสนับสนุนการตรวจสอบหาข้อเท็จจริงโดยการยืมตัว
                    บุคลากรมาช่วยงานในลักษณะของการให้ค�าปรึกษา อย่างไรก็ดี ยังเป็นสิ่งที่ส�าคัญที่จะไม่รับผู้เชี่ยวชาญจากสาขาหรือแวดวง
                    เดียวกันกับรัฐบาลมาท�างานในฐานะที่เป็นบุคคลหรือหน่วยงานที่ท�าการสอบสวนหาข้อเท็จจริง





                                                                                                                 75
                                                                       มาตรฐานและแนวทางการด�าเนินงานของสถาบันสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81