Page 34 - รายงานการปฏิบัติตามอนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติ หรือการลงโทษที่โหดร้ายไร้มนุษยธรรม หรือที่ย่ำยีศักดิ์ศรี
P. 34
30
47. กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม ได้ให้ข้อมูลว่า กระบวนการ
ในการเรียกร้องค่าตอบแทนดังกล่าวยังมีปัญหาที่ส าคัญ 2 ประการซึ่งท าให้
ผู้เสียหายอาจไม่ได้รับการเยียวยาตามพระราชบัญญัติดังกล่าวได้ คือ (1) การที่
กฎหมายดังกล่าวจ ากัดประเภทของความผิดไว้เฉพาะความผิดเกี่ยวกับเพศและ
ความผิดต่อชีวิตและร่างกายดังกล่าวแล้วในข้อ 44 ข้างต้น และ (2) การจ ากัดว่า
ผู้เสียหายต้องยื่นค าขอรับค่าตอบแทนภายในเวลา 1 ปีนับแต่วันที่ผู้เสียหายได้รู้
ถึงการกระท าความผิด ซึ่งเป็นช่วงระยะเวลาที่ผู้เสียหายอาจไม่สะดวกในการ
ขอรับค่าตอบแทน ประกอบกับการขาดการประชาสัมพันธ์ให้ผู้เสียหายทราบถึง
สิทธิของตัวเอง ท าให้หลายกรณีผู้เสียหายไม่ได้ใช้สิทธิดังกล่าว หรือเมื่อประสงค์
จะใช้สิทธิก็พบว่าเกินก าหนดระยะเวลา 1 ปีไปแล้ว นอกจากนี้ ผู้เสียหายใน
คดีอาญา ที่ได้รับค่าตอบแทนตามพระราชบัญญัตินี้บางรายเห็นว่าอัตรา
ค่าตอบแทนที่ก าหนดไม่สะท้อนสภาวะค่าครองชีพในปัจจุบัน
48. ข้อเสนอแนะ หากมีการแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญาที่เพิ่มการ
ทรมานเป็นฐานความผิดต่างหาก รัฐควรขยายประเภทความผิดที่ผู้เสียหายอาจ
ร้องขอค่าตอบแทนตามพระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหายฯ ให้ครอบคลุม
ความผิดฐานทรมานด้วย และรัฐควรพิจารณาแก้ไขกฎหมายดังกล่าวโดยขยาย
ระยะเวลาที่ผู้เสียหายอาจยื่นค าร้องเพื่อขอค่าตอบแทนให้มากกว่า 1 ปี
นอกจากนี้ รัฐควรประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้ทราบเกี่ยวกับสิทธิของผู้เสียหาย
ในคดีอาญาในการเรียกร้องค่าตอบแทนในวงกว้างโดยผ่านช่องทางต่างๆ รวมถึง
องค์กรวิชาชีพทนาย และพิจารณาปรับอัตราค่าตอบแทนแก่ผู้เสียหายให้
เหมาะสมกับความเสียหายที่บุคคลได้รับและสอดคล้องกับสภาวะค่าครองชีพที่
เป็นจริง เช่น อัตราค่าใช้จ่ายในการฟื้นฟูสภาพทางร่างกายและจิตใจและค่าขาด
อุปการะเลี้ยงดู ควรค านึงถึงระยะเวลาที่จ าเป็นต้องใช้ในการฟื้นฟูร่างกายและ