Page 65 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 65

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                National Human Rights Commission of Thailand

                2.4 การบริหารจัดการที่ดินที่ดี

                         การบริหารจัดการที่ดินของรัฐในปจจุบันที่มีปญหามากเพราะเหตุปจจัยหลายประการ  เชน
                ความไมสอดคลองกับบริบทของทองถิ่น  การมุงเนนแตเศรษฐกิจโดยละเลยมิติทางสังคม  วัฒนธรรม

                และระบบนิเวศทางธรรมชาติ จึงทําใหเกิดความไมเปนธรรมกับประชาชนที่ยากจนและดอยโอกาส ดังนั้น
                การดําเนินการปกปองคุมครองสิทธิของประชาชนจึงตองมีองคความรูทางทฤษฎีมาชวยเสริมการคิดวิเคราะห

                ซึ่งไดนําเรื่องธรรมาภิบาลและเรื่องหลักนิติธรรมมาอธิบายประกอบดังนี้

                         2.4.1  ธรรมาภิบาล

                         แนวคิดธรรมาภิบาลหรือ Good governance แพรหลายในประเทศไทยราวตนศตวรรษที่ 2540

                โดยไดมีการบัญญัติศัพทขึ้นมาหลายคํา เชน ธรรมาภิบาล ประชารัฐ ธรรมรัฐ ระบบบริหารกิจการบานเมือง
                และสังคมที่ดี บริษัทภิบาล เปนตน สวนธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการที่ดินเกี่ยวของกับธรรมาภิบาล

                ในการบริหารการจัดการองคกรหลายประการ ศิริรักษ ปภัสรวิจิตร (2548) ศึกษาการบริหารรัฐวิสาหกิจ
                ตามหลักธรรมาภิบาลซึ่งประกอบดวย หลักนิติธรรม หลักความโปรงใส หลักการมีสวนรวม หลักความรับผิดชอบ

                และหลักความคุมคา พบวา ปญหาอุปสรรคในการบริหารงานเปนปญหาที่มาจากทั้งปจจัยภายนอกและปจจัย
                ภายใน นอกจากนี้ ความสับสนตอวัตถุประสงคของรัฐบาลคือ เปนมูลเหตุที่สําคัญที่กอใหเกิดปญหาในการบริหาร

                จัดการรัฐวิสาหกิจ ชาติชาย นรเศรษฐาภรณ (2545) วิจัยเรื่อง “ธรรมาภิบาลในความหมายของภาครัฐ เอกชน
                และประชาชน” กรณีโครงการโรงไฟฟาพลังความรอนถานหิน “หินกรูด” พบวา หลักนิติธรรม คือ ศูนยกลาง

                ของหลักตาง ๆ ในการสรางธรรมาภิบาลในภาครัฐจะเนนในเรื่องของสัญญาที่ผูกกับคูสัญญา และการดําเนินงาน
                โครงการตามกระบวนการของรัฐธรรมนูญเดิม ในสวนของภาคเอกชน หลักธรรมาภิบาลที่ภาคเอกชนยึดถือ

                และใหความสําคัญเปนพิเศษมากกวาหลักอื่น ๆ คือ หลักนิติธรรม และหลักความคุมคา ประสิทธิภาพ
                ประสิทธิผล ในขณะที่หลักการมีสวนรวมคือ หัวใจของภาคประชาชนในการที่จะสรางธรรมาภิบาล ภาคประชาชน

                เห็นวา ประชาชนควรไดรับโอกาสการมีสวนรวมในการตัดสินใจทุกขั้นตอน ไมวาจะเปนขั้นตอนของการ
                กําหนดนโยบาย  การพิจารณา  ตลอดจนขั้นตอนของการดําเนินการโครงการจากแบบจําลองที่ไดจาก

                การวิเคราะหปรากฏการณหลักอื่น ๆ ที่เปนองคประกอบของการสรางธรรมาภิบาลเปนแคสวนประกอบ
                ที่อยูรายรอบหลักการมีสวนรวมเทานั้น

                         คําฝน ดวงมี และคณะ (2550) ศึกษาเรื่อง “หลักการบริหารกิจการบานเมืองที่ดีของเทศบาล
                ตําบลบางประหัน” ผลการศึกษา พบวา ปจจัยที่ทําใหกระบวนการบริหารกิจการบานเมืองที่ดีของเทศบาล

                ตําบลบางประหันบรรลุผลสําเร็จ ผูบริหารจะตองสรางความรวมมือใหเกิดขึ้น ทั้งในสวนของเจาหนาที่
                และประชาชน  ประสิทธิภาพและประสิทธิผลจะไมเกิดขึ้นถาไมไดรับความรวมมือจากภาคประชาชน

                และความเขาใจรวมกันของเจาหนาที่กับเปาหมายของการพัฒนา ปจจัยที่เกื้อหนุนตอกระบวนการบริหาร
                จัดการที่ดีของเทศบาลตําบลบางประหัน คือ ภาวะผูนําของนายกเทศมนตรี การพัฒนาบุคลากรของหนวยงาน

                ใหมีทัศนคติเชิงบวกในการใหบริการประชาชน หนวยงานมีคาตอบแทนแกเจาหนาที่ที่เหมาะสม และสราง
                ความเขาใจแกประชาชนในภารกิจและการดําเนินงานของเทศบาล โดยเฉพาะการมีสวนรวมของประชาชน



           44    รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข
                 นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70