Page 63 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 63
สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
National Human Rights Commission of Thailand
9. ควรหาทางนําที่ดินที่ถูกทอดทิ้งไมใชประโยชน เนื่องจาก ติดภาระกับธนาคารหรือสถาบันการเงิน
ที่กลายเปนสินเชื่อที่ไมกอใหเกิดรายได (Non - Performing Loan : NPL) มาใชประโยชนโดยมิใหกระทบถึง
สิทธิของเจาหนี้ที่มีอยูเพื่อใหที่ดินไดใชประโยชนตามความเหมาะสมของที่ดินแตละแปลง โดยอาจเปนการ
ออกกฎหมายใหหนวยงานของรัฐเปนผูนําที่ดินออกใหเชาใชประโยชนชั่วคราวและสงรายไดที่หักคาบริหารแลว
ใหกับเจาของที่ดินหรือเจาหนี้ เปนตน
10. ควรใหมีการศึกษาแนวทางในการจัดการทรัพยากรที่ดินของชุมชนอยางจริงจังเพื่อนําไปสู
การปรับเปลี่ยนกฎหมายและบทบาทขององคกรไปตามแนวทางของรัฐธรรมนูญ เพื่อผลักดันใหเกิด
การเปลี่ยนแปลงในทางที่ยอมรับสิทธิของบุคคลและชุมชนมากขึ้น
กลาวไดวา ปญหาการจัดการที่ดินทําใหเกิดปญหาความขัดแยงในสังคมและรองเรียนการละเมิดสิทธิ
มายังคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติอยางมาก
ลักษณะเรื่องรองเรียนการละเมิดสิทธิ
ภาพรวมของความขัดแยงดานทรัพยากรจากผลการสํารวจความขัดแยง ป พ.ศ. 2554 พบวา
ประเทศไทยมีลักษณะความขัดแยงทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมสูงสุด คิดเปนรอยละ 31
ในขณะที่ความขัดแยงดานการเมืองและความขัดแยงดานบุคคล มีระดับความขัดแยงรองลงมาคือรอยละ 26
เทากัน สวนความขัดแยงดานวัฒนธรรม ความเชื่อ ศาสนา ประเพณี และอัตลักษณ มีระดับความรุนแรง
รอยละ 17 (สํานักงานคณะกรรมการเสริมสรางความสมานฉันทแหงชาติ, 2555)
สวนการศึกษาวิเคราะหขอมูลเรื่องรองเรียนตอคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติที่อยูใน
ความรับผิดชอบของคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจดานที่ดินและปา นับตั้งแตรับคํารองแรกจนถึงปจจุบัน
(เดือนเมษายน 2556) มีทั้งหมด 614 คํารอง จําแนกเปนคํารองรายปไดตามตารางขางลางนี้
42 รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข
นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”