Page 60 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 60

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                                                                                               National Human Rights Commission of Thailand

                        สอดคลองกับงานวิจัยเรื่องการศึกษาแนวทางการปรับปรุงองคกรบริหารจัดการที่ดิน โดยอิทธิพล

               ศรีเสาวลักษณ และคณะ (2547) ที่ปรากฏผลการศึกษาระบุชัดวา มีความจําเปนที่จะตองมีองคกรในระดับชาติ
               เพื่อบริหารจัดการทรัพยากรดินและที่ดินของประเทศและกิจกรรมที่เกี่ยวของทั้งระบบ ดวยการกําหนดนโยบาย

               ใหสอดคลองกับการพัฒนาการอนุรักษการฟนฟูและการใชประโยชนจากทรัพยากรดินและที่ดินอยางสมดุล
               เปนธรรมและยั่งยืนทั้งในดานเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดลอม

                        นอกจากการแกไขที่กลไกและการเปดพื้นที่ใหประชาชนเขามามีสวนรวมแลว งานวิจัยโครงการศึกษา
               การถือครองและใชประโยชนที่ดินและมาตรการทางเศรษฐศาสตรและกฎหมายเพื่อใหการใชประโยชนที่ดิน

               เกิดประโยชนสูงสุด โดยวารินทร วงศหาญเชาวและคณะ (2544) ไดชี้ใหเห็นถึงปญหาสําคัญอีกดานของการ
               จัดการที่ดิน โดยชี้ชัดถึงสัดสวนของการถือครองที่ดินและการใชประโยชนที่ไมสมดุลกันโดยเปนปญหาจากโครงสราง

               กฎหมาย ที่สงทําใหเกิดปญหาการกระจายการถือครอง และการใชที่ดินไมเต็มประสิทธิภาพ และปญหานี้
               ก็สงผลกระทบตอมูลคาทางเศรษฐกิจ รวมทั้งมีขอเสนอในการจัดการทรัพยากรที่ดินใหไดประโยชนสูงสุด

               ทั้งนี้ยังพบวา ที่ดินสวนมากยังมีการใชประโยชนไมเต็มที่ ขอมูลจากการสํารวจของโครงการนี้ พบวา ที่ดิน
               ประมาณรอยละ 70 ของประเทศนั้นใชประโยชนพอสมควร ที่เหลือใชประโยชนตํ่ากวารอยละ 50 คือ มีการใช

               ประโยชนไมเต็มที่หรือไมไดใชประโยชนเลย การใชประโยชนจากที่ดินไมเต็มที่นี้อาจจะเกิดจากปญหา
               การเก็งกําไรหรือปญหาการบริหารจัดการที่ดินของผูถือครองที่ดินเอง การประเมินการสูญเสียจากการใช

               ประโยชนจากที่ดินไมเต็มที่หากใชมูลคาเพิ่มภาคเกษตรเปนขอมูลในการประเมินซึ่งถือวาเปนการประเมินขั้นตํ่า
               ปจจุบันประเทศไทยมีพื้นที่ที่ใชการเกษตร 132.5 ลานไร มูลคาเพิ่มของการเกษตรป พ.ศ. 2541 มีประมาณ

               619,350 ลานบาท จากขอมูลที่มีอยูสามารถคํานวณไดวา การประมาณการขั้นสูงเกี่ยวกับการใชประโยชน
               ที่ดินอยูที่ระดับรอยละ 70.5 และหากสามารถทําใหที่ดินใชประโยชนเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 85 มูลคาเพิ่ม

               ทางเกษตรจะสูงถึง 746,734.03 ลานบาท หรือทําใหเกิดมูลคาเพิ่มไดอีก 127,384.03 ลานบาท ซึ่งสรุปไดวา
               การสูญเสียจากการใชประโยชนจากที่ดินไมเต็มที่ประเทศไทยตองสูญเสียทางเศรษฐกิจโดยการประเมิน

               ขั้นตํ่า 127,384.03 ลานบาทตอป
                        ขณะเดียวกัน โครงสรางของกฎหมายมีสวนทําใหเกิดปญหาการกระจายการถือครองและการใชที่ดิน

               ไมเต็มประสิทธิภาพเนื่องจาก
                        ก)  การบังคับใชกฎหมายเกี่ยวกับปาไมไมไดผลในทางปฏิบัติ เพราะออกใชมานานและมีหลายฉบับ

               การปรับปรุงกฎหมายที่ผานมามิไดปรับเปลี่ยนไปตามสภาพของเศรษฐกิจและสังคมเทาที่ควร แตเนนไปที่การเพิ่ม
               โทษกับผูกระทําความผิด มีการบุกรุกเขาอยูอาศัยและทําประโยชนในพื้นที่สงวนของรัฐเปนจํานวนมากและเพิ่มขึ้น

               โดยไมสามารถหยุดยั้งได เนื่องมาจากนโยบายรัฐและการแกไขที่มิไดเปนการแกปญหาอยางแทจริง ความลักลั่น
               ในการบังคับใชกฎหมาย และความแตกตางในสิทธิในที่ดินที่ประชาชนไดรับ ทําใหเกิดปญหาอื่นติดตามมา

               รวมทั้งการใชที่ดินอยางไมเต็มประสิทธิภาพ









                                                                       รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข  39
                                                                นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65