Page 59 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 59

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                National Human Rights Commission of Thailand

                การใชพื้นที่ไวอยางชัดเจน สวนกระบวนการในการบริหารจัดการในการใชประโยชนที่ดินสมควรใหชุมชน

                จัดการกันเองใหสอดคลองกับสภาพสังคมวิถีชีวิตวัฒนธรรมและสิ่งแวดลอม โดยที่ไมจําเปนตองมีรูปแบบเดียวกัน
                ทั่วประเทศ โดยเอกสารสิทธิในที่ดินที่จะออกใหแกชุมชนอาจเปนสิทธิใชประโยชนโดยไมมีกรรมสิทธิ์ก็ได

                สิทธิของชุมชนในที่ดินดังกลาวจะทําใหชุมชนสามารถบริหารจัดการที่ดินใหเกิดประโยชนตอสมาชิกในชุมชน
                ภายใตเงื่อนไขขอตกลงกับภาครัฐแนวทางดังกลาวนี้ นอกจากจะเปนผลดีแกชุมชนแลว ยังเปนผลดีแกรัฐ

                ที่จะไดรับความรวมมือจากชุมชนในการดูแลที่ดินและลดภาระในการปองกันการบุกรุกที่ดินของรัฐอีกทางหนึ่ง
                         นอกจากการเปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการบริหารจัดการที่ดินอันจะกอใหเกิดกลไก

                ในการดูแลและปองกันการบุกรุกที่ดินของรัฐแลว แนวทางการแกไขปญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐยังจําเปน
                ตองแกไขและดําเนินการที่กลไกของรัฐที่มีหนาที่ในการแกไขปญหา โดยตองดําเนินการบนหลักคิดธรรมาภิบาล

                เชน งานวิจัยโครงการวิจัยกลไกการแกไขปญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ โดยอิทธิพล ศรีเสาวลักษณ และคณะ
                ที่ชี้ใหเห็นวา ปญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐที่เพิ่มมากขึ้น จากสาเหตุการเพิ่มจํานวนของประชากรอยางรวดเร็ว

                ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงโครงสรางดานเกษตรกรรม โดยความตองการที่ดินทํากินจึงเพิ่มขึ้นทําใหราษฎรบุกรุก
                เขาทํากินในที่ดินของรัฐโดยเฉพาะที่ดินปาไม ขณะเดียวกันปจจัยที่สงผลตอการบุกรุกที่ดินของรัฐสวนหนึ่ง

                ก็คือนโยบายของรัฐซึ่งสงผลกระทบตอสิทธิในที่ดินของประชาชน ปญหาอันเกิดจากนโยบายรัฐเชนนี้ กลไก
                ที่สําคัญในการแกไขปญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐคือ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการแกไขปญหา

                การบุกรุกที่ดินของรัฐ พ.ศ. 2545 และระเบียบฯ แกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2547 ซึ่งจัดตั้งคณะกรรมการแกไข
                ปญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ (กบร.) และใหสํานักงาน สบร. เปนฝายเลขานุการของ กบร. โดยพบวา

                การมี กบร. เปนทางเลือกที่สามารถหาขอยุติไดดวยพยานหลักฐานและการบริหารจัดการในทางปกครอง
                จึงมีผลดีมากกวา แตควรปรับปรุงองคประกอบของ สบร. และ สบร. จังหวัดใหมีสัดสวนของภาครัฐลดลง

                เทาที่จําเปนและมีองคประกอบของภาคประชาชนและภาควิชาการที่เหมาะสม ปรับปรุงมาตรการของ
                การอานภาพถายทางอากาศและการพิสูจนสิทธิโดยการลดขั้นตอนที่ไมจําเปน กําหนดระยะเวลาการดําเนินการ

                ในแตละขั้นตอนที่ชัดเจน การอานแปลภาพถายทางอากาศดําเนินการเปนพื้นที่/ชุมชน/หรือเปนรายระวาง
                ในกรณีที่ที่ดินแปลงใดไมเปนที่สงวนหวงหามจะตองไมสรางเงื่อนไขหรือขั้นตอนใหเปนภาระเพิ่มขึ้นในการ

                ที่จะออกเอกสารสิทธิในที่ดิน เปนตน รวมทั้งจัดทําแผนงานในการเพิ่มจํานวนของผูชํานาญการในการอาน
                ภาพถายทางอากาศใหเพียงพอและทั่วถึงอยางเรงดวน และควรมีแรงจูงใจโดยอาจกําหนดใหการแกไขปญหา

                การบุกรุกที่ดินของรัฐเปนตัวชี้วัดในการประเมินผลงาน
                         ดังนั้น ควรเรงรัดรางพระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบายที่ดินแหงชาติ พ.ศ. .... ใหมีผลใชบังคับ

                เปนกฎหมายโดยเร็ว ควรแบงสวนราชการใหมให สบร. ยายไปสังกัดสํานักนายกรัฐมนตรีหรือสนับสนุน
                การปฏิบัติงานของ สบร. โดยทบทวนมาตรการของการอานภาพถายทางอากาศและการพิสูจนสิทธิ การปรับ

                อัตรากําลังของ สบร. ใหเหมาะสมกับภารกิจ รวมทั้งการเพิ่มจํานวนของผูชํานาญการในการอานภาพถาย
                ทางอากาศและเรงรัดการแกไขปญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐเพื่อลดปญหาความขัดแยงระหวางรัฐและประชาชน

                สรางความเปนธรรมและความปรองดองในสังคมโดยใหถือเปนภารกิจเรงดวน




           38    รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข
                 นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64