Page 213 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 213

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                National Human Rights Commission of Thailand

                         พ.ศ. 2529 - 2540 ไมปรากฏการแกไขใด พ.ศ. 2541 ผูรองและพวกนําเรื่องเขาคณะกรรมการประสาน

                แกไขปญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐระดับจังหวัด
                         อําเภอไมสามารถคนหาพยานหลักฐานการสงวนหวงหามไดวาใครเปนผูสงวนหวงหาม และสงวน

                ตั้งแตเมื่อใด คณะกรรมการประสานแกไขปญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐระดับจังหวัดทําหนังสือขอพยานหลักฐาน
                จากกรมที่ดิน กรมที่ดินตอบกลับวาไมมีรายละเอียด และเสนอใหอําเภอดําเนินการออกหนังสือสําคัญสําหรับที่หลวง

                เพื่อใหทราบแนวเขตที่ชัดเจน ถาทับที่ทํากินใหปฏิบัติตามกฎกระทรวงฉบับที่ 45”
                         “ที่สาธารณประโยชนดงหนองแก จังหวัดกาญจนบุรี : ที่ดินมีประวัติการตั้งชุมชนกวา 100 ป

                มีหลักฐานการครอบครองและแบบแจงสิทธิการครอบครอง (ใบเหยียบยํ่าที่ดิน พ.ศ. 2487, ส.ค.1 พ.ศ. 2498)
                         กรกฎาคม พ.ศ. 2548 เจาหนาที่ที่ดิน ผูใหญบาน และชาวบานบางสวนรวมกันสํารวจและรังวัดที่ดิน

                เพื่อออกหนังสือสําคัญสําหรับที่หลวงโดยไมปรากฏหลักฐานทางทะเบียนอาศัยเพียงบัญชีสํารวจ
                ที่สาธารณประโยชนและคํากลาวอางของผูใหญบานและชาวบานบางคน โดยผูรองไมทราบมากอน จึงไมไดคัดคาน

                         หลักเขตและแผนที่รังวัดทับซอนที่ทํากินของชาวบาน 21 ราย”
                         “ที่ดินสาธารณประโยชนโคกหนองโพธิ์ จังหวัดลพบุรี : ที่พิพาทมีการครอบครองทําประโยชน

                มีแบบแจงการครอบครอง ส.ค.1 และหนังสือรับรองการทําประโยชน น.ส.3 แตไมสามารถขอออกโฉนดไดเนื่องจาก
                ทางราชการอางวายังไมไดเดินถึงเขตที่ดินตน

                         พ.ศ. 2523 สภาตําบลขับไลชาวบานออกจากที่พิพาททั้งหมดอางเปนที่ดินสาธารณประโยชน นําที่ดิน
                ไปปลูกยูคาลิปตัส ชาวบานกลัวอิทธิพลของกํานันจึงไมไดรองเรียน

                         พ.ศ. 2538 ผูวาราชการจังหวัดและกรมที่ดินดําเนินการรังวัดออกหนังสือสําคัญสําหรับที่หลวง
                ทับที่ดินทํากินอางวาเปนที่ดินสาธารณประโยชนโดยไมปรากฏหลักฐานทางทะเบียน มีเพียงคํากลาวอาง

                ทางการไมสามารถนําพยานหลักฐานมาอางได ตอมา ชาวบานถูกขับไล”
                         “ที่สาธารณประโยชนดงกอลอ จังหวัดมหาสารคาม : ที่ดินมีการครอบครองทําประโยชนตั้งแต

                ป พ.ศ. 2458 ไดหลักฐานการครอบครอง ส.ค.1 มีการพัฒนาทรัพยสินเปนที่สวนไรนา
                         พ.ศ. 2540 กระทรวงเกษตรและสหกรณรวมกับจังหวัดแจงวาจะนําที่ทํากินของผูรองและพวก

                ซึ่งอางวาอยูในที่ดินสาธารณประโยชนขึ้นทะเบียนไวเมื่อ พ.ศ. 2473 เนื้อที่ 3,600 ไร แบงเปน 3 แปลง ๆ 1
                และ 2 ออกหนังสือสําคัญสําหรับที่หลวงแลว พิพาทแปลงที่ 3 เพื่อกอสรางสถานที่ราชการเปนศูนยพันธุพืช

                เพาะเลี้ยง ยังไมออกหนังสือสําคัญสําหรับที่หลวงเพราะมีผูคัดคาน
                         อําเภอและคณะกรรมการตรวจสอบโครงการและแผนผังการใชที่ดินสาธารณประโยชนตรวจสอบ

                พบชาวบานเลิกใชเพราะไมมีหญาสําหรับเลี้ยงสัตวประกอบกับชาวบานประกอบอาชีพอื่นและชาวบานสวนใหญ
                นิยมใชเครื่องอํานวยความสะดวกมากขึ้น จึงไมมีการเก็บฟน เก็บของปาอีกตอไปไมตรงกับความจริงเพราะผูรอง

                และพวกยังครอบครองทําประโยชนอยู
                         เมษายน พ.ศ. 2542 กระทรวงมหาดไทยอนุมัติใหกรมสงเสริมการเกษตรใชที่พิพาท”







         192     รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข
                 นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   208   209   210   211   212   213   214   215   216   217   218