Page 210 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 210

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                                                                                               National Human Rights Commission of Thailand

               5.3 ลักษณะปญหาการละเมิดสิทธิ   9

                        จากการศึกษารายงานผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนเรื่องที่สาธารณประโยชนเฉพาะกรณี

               คณะอนุกรรมการสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปา ตรวจสอบและออกมาตรการแกไขปญหา พ.ศ. 2549 - 2555
               จะเห็นไดวา ในรายงานการตรวจสอบเรื่องรองเรียนของ กสม. ก็มีหลายกรณีที่มีการยุติเรื่อง เนื่องจาก

               ไมพบประเด็นการละเมิดที่จากการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ รวมทั้งมีการไกลเกลี่ยและไดรับการแกไขปญหา
               จากรายงานตรวจสอบฯ พบวาลักษณะปญหาการละเมิดสิทธิมี 3 กรณี ดังนี้

                        1.  การกําหนดที่สาธารณประโยชนทับที่ทํากินราษฎร
                            ลักษณะพฤติกรรมที่กอใหเกิดความขัดแยง

                            1.   ไมดําเนินการออกเอกสารสิทธิอางเปนที่สาธารณประโยชน
                            2.   ทําลายทรัพยสิน

                            3.   ใชวิธีการรุนแรงขับไล ขมขู คุกคาม ดําเนินคดี
                            4.   การรังวัด นําชี้ แนวเขต ไมรับฟงคําคัดคานของราษฎร

                            5.   ไมทราบการประกาศออกหนังสือสําคัญสําหรับที่หลวง
                            สาเหตุการละเมิดสิทธิ

                            1.   ความตองการใชประโยชนในที่ดิน
                            2.   นโยบายการเรงรัดสํารวจที่สาธารณประโยชนเพื่อใหออกหนังสือสําคัญสําหรับที่หลวง

                            3.   ไมมีกระบวนการแสวงหาขอเท็จจริงที่ชัดเจนจากภูมิความรูของผูเกี่ยวของ
                            4.   ผลประโยชนสวนตัว อํานาจ และความชัดเจนของพยานหลักฐาน เชน

                               -  หลักฐานตามทะเบียนที่สาธารณประโยชน ระบุที่ตั้ง เนื้อที่ และขอบเขตไมชัดเจน
               และไมปรากฏหลักฐานการประกาศสงวนหวงหาม

                               - กระบวนการนําชี้ รังวัด ของผูปกครองทองถิ่น มีความผิดพลาดคลาดเคลื่อนจาก
               สภาพพื้นที่ ที่มีการเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนและไมเปนไปตามหลักฐานทะเบียนการประกาศสงวนหวงหาม ฯลฯ

                               - สภาพพื้นที่และแนวเขตมีการเปลี่ยนแปลงสภาพไปตามธรรมชาติ และขาดการดูแลรักษา
               ของเจาหนาที่รัฐ

                               -  กระบวนการสอบสวนขาดการมีสวนรวม รับฟงขอเท็จจริง
                               -  การสํารวจและการจัดทําทะเบียนไมครบถวนสมบูรณและทางราชการไดจัดทํา

               ไวนานแลว
                               -  การปฏิบัติราชการของเจาหนาที่รัฐไมปฏิบัติตามขั้นตอนของกฎหมาย/ไมสํารวจ

               การใชประโยชนรวมกัน, ไมเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวม ฯลฯ
                               -  หนวยงานราชการเพิกเฉยตอการบุกรุก รับทราบ แตไมดําเนินการใด



                       9 รายงานการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่ดินสาธารณประโยชน  เฉพาะกรณีคณะอนุกรรมการสิทธิในการจัดการที่ดิน
               และปา ตรวจสอบและออกมาตรการแกไข พ.ศ. 2549 - 2555


                                                                       รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข  189
                                                                นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   205   206   207   208   209   210   211   212   213   214   215