Page 126 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 126

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                                                                                               National Human Rights Commission of Thailand


                        กลุมที่ 2 เปนแหลงชุมชนที่เกิดขึ้นระหวางป พ.ศ. 2510 ถึง พ.ศ. 2518 ซึ่งปรากฏตามหลักฐานในภาพถาย
               ทางอากาศ โครงการ น.ส.3 กับแผนที่ภูมิประเทศเปนหลักฐานใหสิทธิอยูอาศัยในเขตปาสงวนแหงชาติ ในรูปแบบ

               โครงการ สทก.
                        กลุมที่ 3 เปนแหลงชุมชนเกิดขึ้นภายหลังป พ.ศ. 2518 - พ.ศ. 2524 จะอนุญาตใหเขาอยูอาศัยหรือ

               ทําประโยชนเปนการชั่วคราว ตามมาตรา 16 แหงพระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. 2507

                        การชวยเหลือราษฎรที่เขาไปทํากิน หรืออยูอาศัยในปาสงวนแหงชาติโดยผิดกฎหมาย
                        คณะรัฐมนตรีมีมติ เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2532 เกี่ยวกับการชวยเหลือราษฎรที่เขาไปทํากิน

               หรืออยูอาศัยในปาสงวนแหงชาติโดยผิดกฎหมาย โดยเสนอมาตรการชวยเหลือดังนี้

                        (1)  สภาพปาที่จะอนุญาตใหราษฎรเขาไปทํากินหรืออยูอาศัยเปนการชั่วคราว
                            (1.1) เปนปาเสื่อมโทรม ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑและเงื่อนไขที่คณะรัฐมนตรีในคราวประชุมปรึกษา

               เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2532 กําหนดไว

                            (1.2) ราษฎรไดเขาไปทํากินหรืออยูในปานั้นอยูกอนป พ.ศ. 2524
                            (1.3) เปนปาที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ ไดเสนอคณะรัฐมนตรีใหความเห็นชอบ เพื่อใหราษฎร

               เขาไปทํากินหรืออยูอาศัยเปนการชั่วคราวได
                            (1.4) เนื้อที่ที่จะอนุญาตใหราษฎรเขาไปทํากินหรืออยูอาศัยเปนการชั่วคราว ครอบครัวละไมเกิน

               250 ไร

                        (2) บุคคลที่มีสิทธิจะไดรับการชวยเหลือ
                            (2.1) เปนผูที่เขาไปทํากิน หรืออยูอาศัยปาดังกลาวอยูกอนป พ.ศ. 2524

                            (2.2) ไมมีที่ทํากินในที่แหลงอื่น ๆ เปนของตนเอง หรือมีแตไมเพียงพอ
                        (3) คาธรรมเนียม

                        เพื่อใหประชาชนทราบสถานภาพของตน ในการถือครองที่ดินจึงสมควรใหกําหนดคาธรรมเนียม

               ในการใชที่ดิน ดังตอไปนี้
                            (3.1) เนื้อที่ไมเกิน 15 ไร คิดไมเกิน 10 บาทตอป

                            (3.2) เนื้อที่เกิน 25 ไร แตไมเกิน 50 ไร สวนที่เกิน 25 ไร คิดไรละ 20 บาทตอป

                            (3.3) เนื้อที่เกิน 50 ไรขึ้นไป สวนที่เกินคิดไรละ 100 บาทตอป
                            (3.4) ถาใชประโยชนอยางอื่นที่มิใชการเกษตรกรรมหรือปลูกปาใหคิดเปน 2 เทาของอัตราขางตน
















                                                                       รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข  105
                                                                นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131