Page 121 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 121

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                National Human Rights Commission of Thailand

                            ในสวนของวิธีการประเมินเห็นควรเพิ่มเติม ดังนี้

                             (1)  ควรมีการตรวจสอบโดยภาพถายทางอากาศ มาตราสวน 1:15,000 ที่ถายใหมที่สุด

                                เพื่อประเมินดูสภาพปาโดยทั่วไป
                             (2)  ควรกันพื้นที่ปาสมบูรณออกจากแปลงใหญ โดยจําแนกจากภาพถายทางอากาศ

                             (3)  สุมสํารวจโดยวิธีการสํารวจแบบ Line Plot ใหกระจายทั่วพื้นที่ไมนอยกวารอยละ 5

                                ของพื้นที่ เพื่อหาปริมาณของไมขนาดตาง ๆ
                             (4)  ไมควรใชคาเฉลี่ยตอพื้นที่ปาผืนใหญในการประเมิน เพื่อใหเปนไปตามหลักเกณฑควรใช

                                คาเฉลี่ยตอพื้นที่ปาในแตละแปลงที่สํารวจในสวนของหลักเกณฑใหเพิ่มคือ
                             (5)  ในกรณีที่ปาเสื่อมโทรมนั้นอยูในพื้นที่ตนนํ้าลําธาร แมจะมีตนไมนอยเพียงใดก็ตาม

                                ก็ไมควรที่จะอนุญาตใหประชาชนเขาทํามาหากินในพื้นที่นั้น แตควรที่จะเรงดําเนินการ

                                ปลูกปาในพื้นที่ดังกลาว
                            วันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2529 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณเสนอ

                หลักเกณฑและเงื่อนไขในการกําหนดสภาพปาเสื่อมโทรม โดยเพิ่มเติมหลักเกณฑและเงื่อนไขในสวนของวิธีการ
                ประเมินตามความเห็นของคณะกรรมการนโยบายปาไมแหงชาติ สําหรับในสวนของหลักเกณฑที่ใหเพิ่มเติมนั้น

                ใหแกไขเปน “ขอ 5 ในกรณีที่ปานั้นอยูในพื้นที่ตนนํ้าลําธาร แมจะมีตนไมนอยเพียงใดก็ตามก็มิใหกําหนด

                เปนปาเสื่อมโทรม
                            วันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2529 คณะรัฐมนตรีมีมติเกี่ยวกับหลักเกณฑและเงื่อนไขในการกําหนดสภาพ

                ปาเสื่อมโทรม โดยใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและการพลังงาน รับเรื่องนี้ไปเสนอ

                คณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติพิจารณาเสนอคณะรัฐมนตรีอีกครั้งหนึ่ง โดยใหรับขอสังเกตของคณะรัฐมนตรี
                ไปพิจารณาดวยวา พื้นที่ปาตนนํ้าลําธารตามหลักเกณฑขอ (5) ของมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2529

                ควรใหหมายความถึง พื้นที่ลุมนํ้าทั้งชั้นที่ 1 A และ 1 B และชั้นที่ 2 ดวยหรือไม และโดยที่การกําหนด

                สภาพปาเสื่อมโทรมตามกฎหมายฉบับที่แกไขใหม มีวัตถุประสงคเพื่อจัดสรรใหราษฎรทํากิน ซึ่งแตกตาง
                จากวัตถุประสงคของกระทรวงเกษตรและสหกรณในเรื่องนี้ จึงควรพิจารณาดวยวา โดยผลของกฎหมายดังกลาว

                ถากําหนดพื้นที่ใดเปนปาเสื่อมโทรมก็จะมีผลผูกพันใหตองจัดสรรใหราษฎรทํากินตลอดไปหรือไม
                            วันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2530 กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และการพลังงาน มีหนังสือ

                ที่ วพ 0503/7438 ลงวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2530 เสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาเห็นชอบมติคณะกรรมการ

                สิ่งแวดลอมแหงชาติ เรื่องหลักเกณฑและเงื่อนไขในการกําหนดสภาพปาเสื่อมโทรม โดยแจงวา ตามมติคณะรัฐมนตรี
                เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2529 ใหสงเรื่องหลักเกณฑและเงื่อนไขในการกําหนดสภาพปาเสื่อม ใหกระทรวง

                วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และการพลังงาน พิจารณานําเสนอคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติพิจารณาแลว
                เสนอคณะรัฐมนตรีอีกครั้งหนึ่งนั้น สํานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ไดนําเรื่องดังกลาวขางตน






         100     รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข
                 นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126