Page 128 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 128

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                                                                                               National Human Rights Commission of Thailand


                        3)  พื้นที่พัฒนาตามหลักวนศาสตรชุมชน
                        พื้นที่พัฒนาตามหลักวนศาสตรชุมชน หมายถึง พื้นที่ปาสงวน แหงชาติที่กําหนดไวเพื่อแกไขปญหา

               การบุกรุกทําลายปาในรูปแบบตาง ๆ โดยการวางแผนพัฒนาทรัพยากรมนุษยและการตั้งถิ่นฐานใหสอดคลอง
               กับการใชประโยชน และการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติของประเทศ การใชประโยชนพื้นที่กระทําในลักษณะ

               ของวนเกษตร พื้นที่ลักษณะนี้ไดแก

                            ก.   พื้นที่โครงการตามพระราชดําริ
                            ข.   พื้นที่โครงการพัฒนาเพื่อความมั่นคง

                            ค.  พื้นที่โครงการหมูบานปาไม

                            ง.   พื้นที่ สทก.
                        4)  พื้นที่พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ

                        พื้นที่พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ หมายถึง พื้นที่ปาสงวนแหงชาติที่ไดอนุญาตใหใชประโยชนรวมกัน

               ระหวางทรัพยากรปาไมและทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ เชน แหลงนํ้า และทรัพยากรธรณี เพื่อประโยชนตอการพัฒนา
               เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ พื้นที่ลักษณะนี้ ไดแก

                            ก.   พื้นที่เขตแหลงแร
                            ข.   พื้นที่เขตระเบิดหินและยอยหิน

                            ค.  พื้นที่อนุญาตใหสวนราชการ และเอกชนใชประโยชนในกิจกรรมตาง ๆ

                        การเพิกถอนที่ดินปาไมที่หมดสภาพใหประชาชนไดใชประโยชน
                        มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2536 ไดกําหนดวิธีการเพิกถอนที่ดินปาไมที่หมดสภาพ

               ใหประชาชนไดใชประโยชนโดยวิธีการ
                            1)  ใหกรมปาไมสงมอบพื้นที่ปาเสื่อมโทรม ยกเวนปาอนุรักษ ใหสํานักงานการปฏิรูปที่ดิน

               เพื่อการเกษตร (ส.ป.ก.) จํานวน 44 ลานไร เพื่อใหราษฎรที่ไมมีที่ดินทํากินและยากจนไดเขาทําประโยชน

               และเปนที่อยูอาศัย
                            2)  อนุญาตใหราษฎรที่ครอบครองและทําประโยชนในเขตปากอนที่ทางราชการจะประกาศ

               ใหพื้นที่เปนเขตปาไม และเปนการประกาศเขตปาไมทับที่ดินที่ราษฎรครอบครอง

                            3)  ใหมีการเพิกถอนพื้นที่นั้นออกจากเขตปาและใหออกเอกสารสิทธิไดในกรณีที่ราษฎรบุกรุกจับจอง
               ภายหลังประกาศเปนพื้นที่ปาใหราษฎรไดสิทธิที่ดินในเขตปฏิรูปเทานั้น

                        (มตินี้ถูกยกเลิกโดยมติ ครม. วันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2538 และคืนพื้นที่บางสวนที่ยังมีสภาพปา

               คืนกรมปาไม)










                                                                       รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข  107
                                                                นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133