Page 124 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 124

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                                                                                               National Human Rights Commission of Thailand

                            2.  การสํารวจพื้นที่ดังกลาวขางตนดําเนินการดังนี้

                            2.1 ในกรณีพื้นที่ที่ขออนุญาตมีเนื้อที่มากกวา 500 ไร ควรมีการตรวจสอบโดยภาพถาย

               ทางอากาศ หรือภาพถายดาวเทียม มาตราสวนที่เหมาะสมซึ่งสามารถตรวจสอบไดที่ถายใหมที่สุด เพื่อประเมิน
               ดูสภาพปาโดยทั่วไป หากมีพื้นที่ปาที่สมบูรณใหกันออก โดยมีเหตุผลที่ขอแกไข ดังนี้

                               1)   พื้นที่ที่ขออนุญาตที่มีขนาดเนื้อที่เพียง 5 ไร 10 ไร หรือ 100 ไร ซึ่งปรากฏในแผนที่

               ระวางมาตราสวน 1 : 50,000 เพียงจุดเดียวยอมไมเกิดผลในทางปฏิบัติ เมื่อนํามาตรวจสอบกับภาพถายทางอากาศ
               ทําใหเสียเวลาและงบประมาณไปโดยเปลาประโยชนและพื้นที่ที่มีเนื้อที่นอยกวาหรือเทากับ 500 ไร เจาหนาที่

               ผูตรวจสอบสภาพปาสามารถทําการสํารวจนับไม โดยวางแปลงตัวอยางไดโดยสะดวก ไมเสียเวลาและงบประมาณ
               คาใชจายมากนัก และถาทําการสํารวจนับไม 100% ก็จะไดขอมูลที่เชื่อถือไดมากที่สุด และเปนขอมูลที่ละเอียด

               ที่สุดแลว จึงไมจําเปนตองทําการประเมินสภาพปา  โดยตรวจสอบกับภาพถายทางอากาศอีก ไมวากรณีใด ๆ

                               2)   การประเมินดูสภาพปาโดยทั่วไป สามารถกระทําไดโดยใชภาพถายทางอากาศ
               และทางภาพถายดาวเทียม เนื่องจากมีหลายหนวยงานที่ถายภาพทางอากาศ รวมทั้งภาพถายดาวเทียม

               ซึ่งสามารถนํามาใชประโยชนได นอกจากนี้ สมควรใหใชไดหลายมาตราสวนตามความเหมาะสม ทั้งนี้ขึ้นอยูกับ
               ขนาดของพื้นที่และสภาพภูมิประเทศที่จะทําการตรวจสอบ

                            2.2 ใหสํารวจโดยวิธีทําแปลงตัวอยางแบบ Line Plot ใหกระจายทั่วพื้นที่ไมนอยกวา

               รอยละ 5 ของพื้นที่ เพื่อหาปริมาณของไมขนาดตาง ๆ ในการประเมินไมควรใชคาเฉลี่ยตอพื้นที่ปาผืนใหญ
               เพื่อใหเปนไปตามหลักเกณฑควรใชคาเฉลี่ยตอพื้นที่ปาในแตละแปลงที่สํารวจ  โดยมีเหตุผลที่ขอแกไข ดังนี้

                               1.   การกันพื้นที่ขนาด 1 ไร ในพื้นที่ที่ขออนุญาตเปนพัน หรือเปนหมื่นไร ยอมเปน

               ปญหาในทางปฏิบัติมาก เนื่องจากทําใหเสียเวลาและงบประมาณคาใชจายในการดําเนินงาน
                               2.   จากการประเมินสภาพปาโดยทั่ว ไปจากภาพถายทางอากาศ หรือดาวเทียมกอน

               ที่จะออกไปทําการสํารวจนับไมในพื้นที่ หากพบวาพื้นที่ที่ขออนุญาตบางสวนมีสภาพปาที่สมบูรณ ก็สามารถ

               กันออกไดอยูแลว
                            ดวยเหตุผลดังกลาวขางตน คณะกรรมการนโยบายปาไมแหงชาติจึงเห็นควรนําเสนอคณะรัฐมนตรี

               พิจารณาอนุมัติ ดังนี้
                            1.  ขอทบทวนแกไขมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2529 และวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2530

               เรื่อง หลักเกณฑและเงื่อนไขในการกําหนดสภาพปาเสื่อมโทรมตามประเด็นดังกลาวแลวขางตน

                            2.  เนื่องจากมติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับหลักเกณฑและเงื่อนไขการกําหนดปาเสื่อมโทรมทั้งที่กําหนด
               ไวเดิมและที่ขอแกไขยังคงหามมิใหกําหนดพื้นที่ตนนํ้าลําธารชั้นที่ 2 เปนปาเสื่อมโทรม ซึ่งเปนผลใหกระทรวงเกษตร

               และสหกรณไมสามารถที่จะพิจารณาอนุญาตใหภาคเอกชนทําการปลูกสรางสวนปาหรือไมยืนตนในพื้นที่
               ปาตนนํ้าลําธารชั้นที่ 2 ได ทําใหการฟนฟูสภาพปาตนนํ้าลําธารชั้นที่ 2 ไมสามารถจะดําเนินการไดทันกับเหตุการณ






                                                                       รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข  103
                                                                นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129