Page 123 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 123

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                National Human Rights Commission of Thailand


                            2.  การสํารวจพื้นที่ดังกลาวขางตน ใหดําเนินการดังนี้
                             2.1  ควรมีการตรวจสอบโดยภาพถายทางอากาศ มาตราสวน 1 : 15,000 ที่ถายใหมที่สุด

                เพื่อประเมินดูสภาพปาโดยทั่วไปหากมีพื้นที่ปาที่สมบูรณใหกันออก
                             2.2  ใหสํารวจโดยวิธีทําแปลงตัวอยางแบบ Line Plot ใหกระจายทั่วพื้นที่ไมนอยกวา

                รอยละหา เพื่อหาปริมาตรของไมตาง ๆ ในการประเมิน ไมควรใชคาเฉลี่ยตอพื้นที่ปาผืนใหญ เพื่อใหเปนไปตาม

                หลักเกณฑควรใชคาเฉลี่ยตอพื้นที่ปาในแตละแปลงที่สํารวจ ถาพื้นที่แปลงใดมีคาเฉลี่ยเกินเกณฑที่กําหนด
                ตั้งแต 1 ไรขึ้นไป ใหกันไวเพื่อใหไมเหลานั้นเจริญเติบโตไดตามธรรมชาติ

                            3.  ในกรณีที่ปาไมอยูในพื้นที่ตนนํ้าลําธารชั้นที่ 1 เอ และ 1 บี และชั้นที่ 2 แมจะมีตนไมนอย

                เพียงใดก็ตาม ก็มิใหกําหนดเปนปาเสื่อมโทรม
                            คณะกรรมการนโยบายปาไมแหงชาติ ในการประชุมครั้งที่ 2/2532 เมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2532

                ไดพิจารณาขอเสนอของกรมปาไมที่ขอใหทบทวนมติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับหลักเกณฑและเงื่อนไขในการกําหนด

                สภาพปาเสื่อมโทรมขางตนแลว มีมติเห็นชอบตามขอเสนอของกรมปาไม และใหนําเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณา
                ตอไปโดยใหรัฐเพิ่มการสนับสนุนงบประมาณดานการปลูกปาในพื้นที่ปาตนนํ้าลําธารชั้นที่ 1 และ 2 ใหกรมปาไม

                มากกวาที่เปนอยูในขณะนี้ ในเรื่องที่จะขอใหรัฐมนตรีพิจารณาทบทวนมติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับหลักเกณฑ
                และเงื่อนไขในการกําหนดสภาพปาเสื่อมโทรมครั้งนี้ มุงที่จะแกไขปญหาในทางปฏิบัติที่เกิดขึ้นจากหลักเกณฑ

                และเงื่อนไขของมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2529 และเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2530

                อันจะมีผลใหกรมปาไมสามารถอนุญาตใหเอกชนใชพื้นที่ปาไมเพื่อการปลูกปาไดรวดเร็วขึ้น จึงขอแกไขหลักเกณฑ
                และเงื่อนไขในการกําหนดสภาพปาเสื่อมโทรมจากที่กําหนดไวเดิมเปนดังนี้

                            1.  เปนปาไมที่มีคาที่มีลักษณะสมบูรณเหลืออยูเปนสวนนอย และปานั้นยากที่จะกลับฟนคืนดีได
                ตามธรรมชาติ โดยมีไมขนาดความโตวัดโดยรอบลําตนที่สูง 13 เซนติเมตร ตั้งแต 50 - 100 เซนติเมตร ขึ้นกระจาย

                อยูทั่วพื้นที่ไมเกินไรละ 8 ตน หรือมีไมขนาดความโตเกิน 100 เซนติเมตรขึ้นไป ขึ้นกระจายอยูทั่วพื้นที่ไมเกิน

                ไรละ 2 ตน โดยมีเหตุผลที่ขอแกไข  ดังนี้
                             1)   ประเด็นที่เกี่ยวกับจํานวนลูกไมมีคาที่มีขนาดความสูงเกิน 2 เมตร เปนปญหาในทาง

                ปฏิบัติทําใหเจาหนาที่ตรวจสภาพปาไมกลาตัดสินใจ เพราะเกรงจะเกิดปญหาเนื่องจากในขณะตรวจสอบลูกไม

                เหลานั้นยังสูงไมถึง 2 เมตร แตกวาที่จะไดรับอนุญาตลูกไมอาจจะเจริญเติบโตขึ้นตามธรรมชาติ จนมีความสูง
                เกิน 2 เมตร เมื่อมีการตรวจสอบหรือการรองเรียนเกิดขึ้น อาจเปนผลใหถูกลงโทษฐานปฏิบัติงานบกพรองได

                             2)   จํานวนลูกไมมีคาที่มีขนาดความสูงเกิน 2 เมตร ที่ขึ้นอยูตามธรรมชาตินั้น อาจมีลักษณะ

                แคระแกร็นหรืออาจจะถูกบุกรุกแผวถางทําลาย และหากมีการปลูกสรางสวนปาขึ้นจะทําใหเกิดพื้นที่ปาที่มี
                คาทางเศรษฐกิจ ซึ่งมีประโยชนมากกวาเดิมและการกําหนดจํานวนลูกไมไว จะทําใหเกิดปญหาในการตรวจสอบ

                สภาพปา





         102     รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข
                 นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128