Page 130 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 130

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                                                                                               National Human Rights Commission of Thailand


               เพื่อคุมครองระบบนิเวศ และสภาพแปลงดังกลาวจะตองไมคิดกับปาผืนใหญ โดยรวมกับองคการบริหารสวนตําบล
               ทองที่ และ ส.ป.ก. กรณีนี้ใหพิจารณาจัดทําเปนพื้นที่ทดลองจัดการเปนบางแหงกอน

                            (3)  ให ส.ป.ก. นําผลการปฏิบัติตามบันทึกขอตกลงไปเรงรัดกําหนดเขตปฏิรูปที่ดิน เมื่อมีเขต
               ปฏิรูปที่ดินแลวให ส.ป.ก. เรงรัดดําเนินการตอไป และใหกําหนดเปนเงื่อนไขการใชที่ดิน ส.ป.ก. ใหราษฎรปลูกไม

               ผลหรือไมยืนตนอยางนอยรอยละ 20 ของเนื้อที่ที่ไดรับ กรณีเปนที่ดินที่ติดกับเขตปาไมจะตองปลูกไมผล

               หรือไมยืนตนเปนแนวกันชน และใหนําเอาวิธีการจัดรูปแปลงที่ดินใหมีขนาดเหมาะสม เพื่อใชแกไขปญหา
               เรื่องที่ดินอยูอาศัย/ทํากินของราษฎรในเขตปาไมดวย

                            1.2)  พื้นที่ปาอนุรักษเพิ่มเติม ตามผลการจําแนกเขตการใชประโยชนทรัพยากรและที่ดินปาไม

               ในพื้นที่ปาสงวนแหงชาติ ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 10 และ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 ซึ่งกําหนดไววา
               เมื่อดําเนินการในพื้นที่ใหกรมปาไมปรับแนวเขตไดตามสภาพขอเท็จจริงและความเหมาะสมในภูมิประเทศ

               ผลจากการปรับแนวเขตใหดําเนินการ ดังนี้

                            (1)  บริเวณพื้นที่ที่ปรับออกเปนพื้นที่ปาเพื่อเศรษฐกิจ  หากมีราษฎรอยูอาศัย/ทํากิน
               ใหกรมปาไมพิจารณาดําเนินการตามความเหมาะสม

                            (2)  พื้นที่ที่ผานการตรวจสอบและมีความเหมาะสมที่จะกําหนดไวเปนปาเพื่อการอนุรักษ
               ใหกรมปาไมกําหนดเปนปาอนุรักษตามกฎหมาย ตามความเหมาะสมในแตละพื้นที่ ทั้งนี้ ใหกรมปาไมจัดทํา

               แนวเขตที่ชัดเจน และปองกันดูแลคุมครองอยางเขมงวด ไมใหราษฎรบุกรุกเขาไปยึดถือครอบครองอยูอาศัยทํากิน

               หากมีการบุกรุกเขาไปยึดถือครอบครองใหดําเนินการตามกฎหมายอยางเฉียบขาด
                            1.3)  ปาอนุรักษตามกฎหมาย เชน อุทยานแหงชาติ เขตรักษาพันธุสัตวปา เขตหามลาสัตวปา

               และปาอนุรักษตามมติคณะรัฐมนตรี (พื้นที่ลุมนํ้าชั้นที่ 1, ชั้นที่ 2 และเขตอนุรักษปาชายเลน)
                            เนื่องจากเขตพื้นที่ปาอนุรักษไดกําหนดขึ้น เพื่อการอนุรักษสิ่งแวดลอม ดิน นํ้า พันธุพืช

               และพันธุสัตวที่มีคุณคา หายาก เพื่อการปองกันภัยธรรมชาติ เชน อุทกภัยและการพังทลายของดิน รวมตลอดถึง

               เพื่อประโยชนดานการศึกษา วิจัย นันทนาการของประชาชนและความมั่นคงของชาติ จึงมีแนวทางดังนี้
                              1) ยืนยันนโยบายของรัฐที่จะไมนําพื้นที่ปาอนุรักษตามกฎหมาย และปาอนุรักษตามมติ

               คณะรัฐมนตรีไปดําเนินการตามกฎหมายวาดวยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

                              2)  ใหกรมปาไมสํารวจพื้นที่ที่มีการครอบครองใหชัดเจนและขึ้นทะเบียนผูครอบครอง
               เพื่อนํามาใชเปนขอมูลในการจัดการเพื่อการอนุรักษและการพัฒนาอยางยั่งยืน

                              3)  ใหกรมปาไมประสานกับหนวยงานที่เกี่ยวของ ตรวจสอบพิสูจนการครอบครองที่ดินของราษฎร

               โดยใชภาพถายทางอากาศของกรมแผนที่ทหาร (หากไมมีใหใชภาพถายดาวเทียม) ซึ่งถายภาพพื้นที่นั้นไวเปน
               ครั้งแรกหลังวันสงวนหวงหามเปนพื้นที่ปาไมตามกฎหมายครั้งแรก ตรวจสอบรองรอยการทําประโยชนตอเนื่อง

               มากอนวันสงวนหวงหามเปนพื้นที่ปาไมตามกฎหมายครั้งแรก และตองพิจารณารวมกับพยานหลักฐานอื่น
               ซึ่งแสดงวาไดมีการครอบครองทําประโยชนตอเนื่องมากอนวันสงวนหวงหามนั้น ๆ ดวย



                                                                       รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข  109
                                                                นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135