Page 120 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง เพื่อปรับปรุงแก้ไขนโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนด้านที่ดินและป่า
P. 120

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
                                                                                               National Human Rights Commission of Thailand

                            ดังนั้นพื้นที่ปาเสื่อมโทรมที่จะดําเนินการตามนัยดังกลาวได ตองมีสภาพตามหลักเกณฑและเงื่อนไข

               ที่รัฐมนตรีกําหนดโดยอนุมัติคณะรัฐมนตรี ซึ่งกรมปาไมไดพิจารณากําหนดหลักเกณฑและเงื่อนไขขึ้นเพื่อนําเสนอ

               ใหคณะรัฐมนตรีพิจารณา ดังนี้ คือ
                            1.  เปนปาที่มีไมมีคาที่มีลักษณะสมบูรณหลงเหลืออยูเปนสวนนอย และปานั้นยากที่จะกลับฟนคืนดี

               ไดตามธรรมชาติ โดยมีลูกไมขนาดความสูงเกิน 2 เมตรขึ้นไป ขึ้นกระจายอยูทั่ว พื้นที่ไมเกินไรละ 20 ตน หรือ

               มีไมขนาดความโตวัดโดยรอบลําตนตรงที่สูง 130 เซนติเมตร ตั้งแต 50 - 100 เซนติเมตร ขึ้นกระจายอยูทั่วพื้นที่
               ไมเกินไรละ 8 ตน หรือมีไมขนาดความโตเกิน 100 เซนติเมตรขึ้นไป ขึ้นกระจายอยูทั่ว พื้นที่ไมเกินไรละ 2 ตน

               หรือพื้นที่ปาที่มีไมเขาหลักเกณฑทั้ง 3 ลักษณะดังกลาว เมื่อรวมกันแลวตองมีจํานวนไมเกินไรละ 16 ตน
                            2.  การสํารวจพื้นที่ดังกลาวขางตนใหสํารวจโดยวิธีทําแปลงตัวอยางแบบ Line Plot ใหกระจาย

               ทั่วพื้นที่ไมนอยกวารอยละหาของพื้นที่ ถาพื้นที่แปลงใดมีกลุมไมมีคาขึ้นอยูหนาแนนเกินเกณฑที่กําหนด

               ตั้งแต 1 ไรขึ้นไปใหกันไมเหลานั้นเจริญเติบโตไดตามธรรมชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณไดพิจารณา
               แลวเห็นวา เพื่อใหดําเนินการตามความในมาตรา 16 ทวิ และมาตรา 20 แหงพระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ

               พ.ศ. 2507 ซึ่งตองแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2528 ถือเปนหลักปฏิบัติ
               ตอไป และเพื่อมิใหเกิดความลาชาอันจะทําใหเกิดความเสียหายแกทางราชการ จึงเห็นชอบดวยกับหลักเกณฑ

               และเงื่อนไขดังกลาว

                            วันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 คณะรัฐมนตรีมีมติเกี่ยวกับหลักเกณฑและเงื่อนไขในการกําหนด
               สภาพปาเสื่อมโทรม โดยใหสงหลักเกณฑและเงื่อนไขดังกลาว ใหคณะกรรมการนโยบายปาไมแหงชาติพิจารณา

               เสนอคณะรัฐมนตรีในคราวตอไป โดยใหรับขอพิจารณาของรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงมหาดไทย (นายเฉียว

               วัชรพุกก) ตามที่รองนายกรัฐมนตรี (นายพิชัย รัตตกุล) ประธานคณะกรรมการนโยบายปาไมแหงชาติรับไป
               พิจารณาในที่ประชุมดวย

                            วันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 ประธานคณะกรรมการนโยบายปาไมแหงชาติ มีหนังสือ ดวนที่สุด

               ที่ กษ 0709(5)/09378 ลงวันที่ 17 กรกฎาคม 2529 เสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาหลักเกณฑและเงื่อนไข
               ในการกําหนดสภาพปาเสื่อมโทรม โดยแจงวา คณะกรรมการนโยบายปาไมแหงชาติ ไดพิจารณาหลักเกณฑ

               และเงื่อนไขในการกําหนดสภาพปาเสื่อมโทรม ที่กระทรวงเกษตรและสหกรณเสนอ และขอพิจารณาของรัฐมนตรี
               ชวยวาการกระทรวงมหาดไทย (นายเฉลียว วัชรพุกก) มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 แลว

               มีความเห็นดังนี้

                            1.  หลักเกณฑและเงื่อนไขในการกําหนดสภาพปาเสื่อมโทรม ซึ่งกระทรวงเกษตรและสหกรณ
               เสนอใหคณะรัฐมนตรีพิจารณานั้น กําหนดขึ้นอยูกับภายใตกรอบนโยบายปาไมแหงชาติของรัฐบาล ในสวนที่

               เกี่ยวของกับการพัฒนาพื้นที่ปาไมไปสูเปาหมายที่กําหนดไว การสงเสริมการปลูกปาภาคเอกชนและการ
               ประสานงานการใชประโยชนรวมกันระหวางปาไมและทรัพยากรธรรมชาติอื่น

                            2.  เห็นควรเพิ่มเติมหลักเกณฑและเงื่อนไขการกําหนดสภาพปาเสื่อมโทรม ดังนี้



                                                                       รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง “เพื่อปรับปรุงแกไข  99
                                                                นโยบายกฎหมายที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนดานที่ดินและปาไม”
   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125