Page 99 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 99

- หลักการความเสมอภาคทางสิทธิ มีความหมายวา ความตองการจําเปนของ

              บุคคลแตละคนมีความสําคัญโดยเทาเทียมกัน ฉะนั้น ความตองการจําเปนดังกลาวจึงตองนํามาใชเปนฐานสําหรับ
              การวางแผนในแตละสังคม นอกจากนี้ ทรัพยากรทั้งหมดในสังคมก็จะตองถูกใชไปเพื่อประกันวา บุคคลทุกคนจะ

              ตองมีโอกาสเทาเทียมกันที่จะมีสวนรวมในสังคม

                                    - คนพิการเปนสมาชิกของสังคมเชนเดียวกับบุคคลอื่น และมีสิทธิที่จะอยูอาศัย
              ในชุมชนหรือทองถิ่นของตนเอง และควรจะไดรับความสนับสนุนตามความตองการจําเปนที่มีอยู ภายใตโครงสราง

              ปกติของสังคมในดานการศึกษา สาธารณสุข การจางงาน และบริการสังคม
                                    - เมื่อคนพิการไดรับสิทธิอันเทาเทียมกับบุคคลอื่นในสังคมแลว เขาก็ควรจะมี

              บทบาทหนาที่ที่เทาเทียมดวย เพราะเมื่อคนพิการไดรับสิทธิตาง ๆ ที่ตนเองสมควรจะไดรับ สังคมก็ควรที่จะเพิ่ม

              ความคาดหวังที่มีตอคนพิการใหสูงขึ้นจากเดิม ดังนั้น จึงควรจะมีการดําเนินงานที่จะชวยคนพิการใหกาวเขามา
              รับผิดชอบสังคมอยางเต็มที่ ในฐานะที่เปนสมาชิกของสังคม ซึ่งก็จะเปนสวนหนึ่งของกระบวนการสรางความ

              เสมอภาคทางโอกาสใหแกคนพิการในสังคมอีกดวย

                               2)  อนุสัญญาวาดวยสิทธิของคนพิการ
                                   ไดกําหนดหลักเกณฑเกี่ยวกับเรื่องดังกลาวไวในขอ 5 ความเทาเทียมกันและการไมเลือก

              ปฏิบัติ โดยมีสาระสําคัญสรุปได 5 ประการ ดังนี้

                                -   รัฐภาคียอมรับวาทุกคนมีความเทาเทียมกันเบื้องหนาและภายใตกฎหมาย และมีสิทธิ
              ที่จะไดรับความคุมครองและสิทธิประโยชนที่เทาเทียมกันตามกฎหมายโดยปราศจากการเลือกปฏิบัติใด ๆ

                                -   ใหรัฐภาคีหามการเลือกปฏิบัติทั้งปวงเพราะเหตุแหงความพิการ และประกันใหคนพิการ
              ไดรับความคุมครองตามกฎหมายอยางเทาเทียมและมีประสิทธิผลจากการเลือกปฏิบัติดวยเหตุทั้งปวง

                                -   เพื่อเปนการสงเสริมความเทาเทียมกันและขจัดการเลือกปฏิบัติ ใหรัฐภาคีดําเนิน

              ขั้นตอนที่เหมาะสมทั้งปวงเพื่อประกันวาจะจัดใหมีการชวยเหลือที่สมเหตุสมผล
                                -   มาตรการเฉพาะซึ่งจําเปนในการเรงหรือเพื่อใหบรรลุถึงความเทาเทียมกันในทางปฏิบัติ

              แกคนพิการตองไมถือเปนการเลือกปฏิบัติภายใตเงื่อนไขของอนุสัญญานี้
                               3)   รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 30

                                   มาตรา 30 บุคคลยอมเสมอกันในกฎหมายและไดรับความคุมครองตามกฎหมาย

              เทาเทียมกัน
                                   ฯลฯ

                                   การเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรมตอบุคคลเพราะเหตุแหงความแตกตาง ในเรื่องถิ่น

              กําเนิด เชื้อชาติ  ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรือสุขภาพสถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือ
              สังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมืองอันไมขัดตอบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญ

              จะกระทํามิได

                                   ฯลฯ





          80
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104