Page 102 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 102
บทที่ 4
บทสรุปและขอเสนอแนะ
คณะผูศึกษาวิจัยขอสรุปสาระสําคัญเกี่ยวกับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติกับการตรวจสอบ
การละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธระหวางเอกชนดวยกัน และใหขอเสนอแนะที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติ
หนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติในการเกี่ยวกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความ
สัมพันธระหวางเอกชนดวยกัน ดังนี้
ในการดําเนินการเกี่ยวกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธระหวางเอกชนดวยกัน
ใหเกิดประสิทธิภาพนั้น คณะผูศึกษาวิจัยมีความเห็นและขอเสนอแนะ แบงออกเปน 4.1 มาตรการทางกฎหมาย
และ 4.2 มาตรการ อื่นๆ ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
4.1 มาตรการทางกฎหมาย
4.1.1 การกําหนดบทนิยามและอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติเกี่ยวกับ
การตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธระหวางเอกชนดวยกันใหชัดเจน
คณะผูศึกษาวิจัยเห็นวา ประเด็นปญหาสําคัญเกี่ยวกับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
กับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธระหวางเอกชนดวยกันมีปญหาที่สําคัญคือ การขาด
บทนิยามที่ชัดเจนเกี่ยวกับอํานาจหนาที่ที่ชัดเจนของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติในการตรวจสอบ
การละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธระหวางเอกชนดวยกัน สงผลเกิดขอโตแยงเรื่องอํานาจหนาที่ของ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติวาสามารถทําหนาที่ตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ
ระหวางเอกชนดวยกันไดหรือไม และมีอํานาจแคไหน เพียงใด
การแกไขปญหาเรื่องนี้ ในทางปฏิบัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติอาจจําเปนจะตอง
กําหนดหลักเกณฑเกี่ยวกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธระหวางเอกชนดวยกันใหชัดเจน
เชน กําหนดลักษณะของเรื่องที่เกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธระหวางเอกชนดวยกัน
ที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติสามารถรับเรื่องไวพิจารณาได ขั้นตอนปฏิบัติเกี่ยวกับการรับเรื่องรองเรียน
การตรวจสอบ ฯลฯ ใหเกิดความชัดเจน เพื่อใหประชาชนทั่วไปไดรับทราบวาอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการ
สิทธิมนุษยชนแหงชาติในเรื่องดังกลาวนั้นมีอํานาจแคไหน เพียงใด
นอกจากนี้ การกําหนดหลักเกณฑเกี่ยวกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ
ระหวางเอกชนดวยกันอาจจําเปนตองมีการกําหนดขอบเขตของคําวา “สิทธิความเปนอยูสวนตัว” ซึ่งจะเปน
เสนแบงที่สําคัญวาการกระทํานั้นจะมีลักษณะเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนระหวางเอกชนดวยกันหรือไม ซึ่งในการ
กําหนดขอบเขตของคําวา “สิทธิความเปนอยูสวนตัว” ของบุคคลนั้น อาจใชแนวทางตามที่ที่ประชุม ICJ
(International Commission of Jurists) ซึ่งไดใหความหมายไวในการประชุมเมื่อป 1967 ที่กรุงสต็อกโฮลม
83