Page 103 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 103

ประเทศสวีเดน วาเปน “สิทธิที่จะอยูโดยลําพังโดยมีการรบกวนการแทรกแซงในระดับที่นอยที่สุด” ซึ่งมีการขยาย

              ความวา หมายถึงสิทธิของปจเจกชนที่จะดําเนินชีวิตโดยไดรับการคุมครองจากสิ่งเหลานี้ คือ 130
                            1) การแทรกแซงในชีวิตความเปนสวนตัว ครอบครัว และเคหสถาน

                            2)  การแทรกแซงในทางกายภาพ หรือในทางจิตใจ หรือศีลธรรมและเสรีภาพในทางความคิด

                            3)  การกระทําตอเกียรติยศและชื่อเสียง
                            4) การไขขาวแพรหลายซึ่งขอความอันฝาฝนความจริง ซึ่งทําใหเปนที่เสื่อมเสียในสายตาของ

              สาธารณชน
                            5)  การเปดเผยขอเท็จจริงที่ไมถูกตองอันเปนที่นาอับอายเกี่ยวกับชีวิตความเปนสวนตัว

                            6)  การใชชื่อหรือเครื่องหมายชี้เฉพาะหรือภาพโดยไมมีอํานาจ

                            7)  การสืบความลับ การสอดรูสอดเห็น การติดตามเฝาดู และการรบกวน
                            8)  การแทรกแซงการติดตอสื่อสารระหวางกัน

                            9)  การเปดเผยขอมูลขาวสารที่เปนความลับ ซึ่งผูกระทําไดรับมาอันเนื่องมากจากการประกอบ

              วิชาชีพนั้น
                            10)การใชงานในทางที่มิชอบซึ่งการติดตอสื่อสารสวนบุคคล

                            ดังนั้น  อาจกลาวไดวาขอบเขตที่บุคคลควรไดรับการคุมครองและการเคารพในสิทธิ

              ความเปนสวนตัว ก็คือการดํารงชีวิตอยางเปนอิสระ มีสิทธิที่จะแสวงหาความสุขในชีวิตตามวิถีทางที่อาจเปนไปได
              และเปนความพอใจตราบเทาที่ไมขัดตอกฎหมาย ไมขัดตอความสงบเรียบรอยและศีลธรรมอันดีของประชาชน

              และไมเปนการลวงละเมิดสิทธิเสรีภาพของผูอื่น ดังนั้น หากมีกรณีที่เอกชนไดกระทําการอันเปนการลวงละเมิด
              ขอบเขตดังกลาวของบุคคลอื่น ก็ถือไดวาเปนการกระทําละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธระหวางเอกชนดวยกัน

                            ทั้งนี้ แมวาในกรณีที่มีการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธระหวางเอกชนดวยกันนั้น

              คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติจะมีอํานาจในการตรวจสอบก็ตาม คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
              ยอมมีอํานาจหนาที่พิจารณาและตรวจสอบแตเพียงในสวนที่เกี่ยวกับมิติการกระทําอันเปนการแทรกแซงหรือรุกลํ้า

              สิทธิในความเปนอยูสวนตัววาการกระทํานั้นเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือไมเทานั้น โดยมิอาจกาวลวง
              พิจารณาลงไปถึงการกระทําอันเปนความผิดตามกฎหมายเฉพาะนั้น ๆ ซึ่งเปนอํานาจหนาที่หรือความรับผิดชอบ

              โดยตรงเปนการเฉพาะขององคกรของรัฐแหงอื่นอยูแลว

                            นอกจากนั้น คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติและสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
              แหงชาติจําเปนจะตองมีการพัฒนาความรูความเชี่ยวชาญของบุคลากรของสํานักงานฯ เกี่ยวกับเรื่องดังกลาว

              ตลอดจนเผยแพรประชาสัมพันธใหประชาชนทั่วไปทราบ เพื่อเสริมสรางมาตรฐานการปฏิบัติงานใหเปนไป

              ในแนวทางเดียวกัน









              130  วีรพงษ  บึงไกร. (2543) การเปดเผยขอมูลสวนบุคคลตามพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540 หนา 14


          84
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108