Page 104 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 104
4.1.2 การปรับปรุงบทบาทของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติใหมีบทบาทเห็นเปนรูปธรรม
ไดชัดเจน
โดยการกําหนดอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติใหสามารถใหคําแนะนํา
ขอคิดเห็น แกรัฐมนตรีวาการในแตละกระทรวงไดโดยตรง เพื่อกําหนดเปนนโยบาย มาตรการที่เปนการปกปอง
คุมครองสิทธิมนุษยชน ซึ่งเปนนโยบายที่เกิดขึ้นจากกรณีการรองเรียนในประเด็นที่มีผลกระทบตอคนโดยสวนใหญ
โดยคําแนะนําตาง ๆ จากคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาตินั้น มีผลทําใหหนวยงานของรัฐเห็นความสําคัญ
ในเรื่องของสิทธิมนุษยชนไดมากยิ่งขึ้น ดังนั้น บทบาทในการสามารถใหคําแนะนํา หรือใหขอคิดเห็นตาง ๆ
แกหนวยงานทั้งภาครัฐ องคกรรัฐวิสาหกิจ และองคกรภาคธุรกิจไดโดยตรง จึงนาที่จะนํามากําหนดเปนอํานาจ
หนาที่หนึ่งของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติของประเทศไทย
นอกจากนั้น ควรกําหนดใหอํานาจแกคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติที่จะสามารถ
ดําเนินการแกไขเรื่องเรงดวนไดอยางทันทวงที หากเห็นวาเปนเรื่องที่มีความสําคัญและเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง
แมวาจะยังไมไดรับการรองเรียนหรือไมก็ตาม โดยจะสามารถสนับสนุนในเรื่องของบริการทางการแพทย อาหาร เสื้อผา
การเปลี่ยนแปลงสถานที่อยู หรือแมแตการจัดการกับคนที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือเหยียดหยามผูอื่นออกจากงาน
อยางเปนทางการได ซึ่งการดําเนินการดังกลาว ถือเปนนโยบายที่ดีเพื่อเขาไปจัดการปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน
ไดรวดเร็วและทันทวงที รวมถึงยังมีการแกไขเยียวยาและมีการจัดการกับคนที่กระทําการละเมิดดวย เพื่อให
สามารถแกไขปญหาการละเมิดสิทธิครอบคลุม ครบวงจร
โดยมาตรการดังกลาว อาจจําเปนตองแกไขกฎหมายเกี่ยวกับอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการ
สิทธิมนุษยชนแหงชาติ และอาจตองมีการระดมความคิดเห็นจากผูเชี่ยวชาญเพื่อพิจารณาวาควรมีการเพิ่มบทบาท
หนาที่ดังกลาวแคไหน เพียงใด
4.2 มาตรการอื่น ๆ
จากการศึกษาวิจัยกฎหมายเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนของตางประเทศ สามารถนําแนวทางปฏิบัติและ
ประสบการณของตางประเทศมาปรับใชกับการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติในประเด็น
สําคัญได โดยนอกจากจะมีการดําเนินมาตรการทางกฎหมายแลว ยังมีการดําเนินการดานอื่น ๆ เปนมาตรการ
เสริมดวย ไดแก
4.2.1 การจัดตั้งสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติสาขาตาง ๆ ในตางจังหวัด เพื่อใหการ
ชวยเหลือประชาชนในเรื่องสิทธิมนุษยชนมีประสิทธิภาพและรวดเร็วขึ้น
4.2.2 การติดตามประเมินผลการปฏิบัติตามแผนสิทธิมนุษยชนแหงชาติตองมีการติดตามประเมินผล
ทั้งจากผูประเมินภายนอก และจากผูประเมินภายใน โดยการแตงตั้งคณะกรรมการจากตัวแทนหนวยราชการระดับ
กระทรวงใหผูประเมินภายในสําหรับการปฏิบัติตามแผนสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ซึ่งมาตรการนี้ถือเปนสิ่งที่จะเปน
ประโยชนตอการขับเคลื่อนใหแผนสามารถนําไปสูการปฏิบัติที่เปนรูปธรรม เพราะทุกกระทรวงอยูในฐานะ
ที่มีบทบาทหนาที่ตองนําแผนไปปฏิบัติและตองมีบทบาทเพิ่มเติม คือ “เปนผูประเมินผลดวย” เพื่อใหหนวยงาน
ในสังกัดแตละกระทรวงตระหนักและเห็นความสําคัญในการที่จะตองนําแผนไปปฏิบัติ แตในระยะเริ่มแรก
อาจตองมีการศึกษา วิจัย เพื่อกําหนดเปนกรอบแนวทางการดําเนินงานในเรื่องดังกลาวใหเกิดความชัดเจนกอน
85