Page 96 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 96
3.2.1 กรณีขอโตแยงอํานาจการตรวจสอบของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติวารัฐธรรมนูญ
ไมไดใหอํานาจคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติเขามาจัดระเบียบความสัมพันธในทางแพงระหวางเอกชน
ตอเอกชน
กรณีนี้มีผูรองเรียนตอคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติวา แพทยของโรงพยาบาลเอกชน
แหงหนึ่งไดทําคลอดและดูแลบุตรชายของผูรองดวยความประมาทไมระมัดระวังในการตรวจรักษาผูปวยและ
ทําการตํ่ากวามาตรฐานเปนเหตุใหบุตรชายของผูรองติดเชื้อที่สะโพกและขาพิการในเวลาตอมา ทําใหผูรองตองเสีย
คาใชจายจํานวนมากในการรักษาพยาบาลบุตรใหหายจากการเจ็บปวยอันเนื่องมาจากเหตุดังกลาว โดยกรณี
ดังกลาวโรงพยาบาลเอกชนผูถูกรองไดโตแยงอํานาจการตรวจสอบของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติวา
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติเปนองคกรที่เกิดขึ้นตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
2540 อันเปนกฎหมายมหาชน ซึ่งมุงจะจัดระเบียบการปกครองของรัฐในทางการเมือง การกําหนดโครงสราง
ของรัฐ ระบบการปกครอง การใชอํานาจอธิปไตย และการรับรองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนในประเทศ
ฉะนั้น การกอตั้งคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติจึงเปนไปเพื่อประโยชนในการคุมครองศักดิ์ศรีความเปนมนุษย
สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทยที่รัฐธรรมนูญรับรองไวใหพนจากการใชอํานาจขององคกรของรัฐทุกองคกร
แตรัฐธรรมนูญไมไดใหอํานาจคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติเขามาจัดระเบียบความสัมพันธในทางแพง
125
ระหวางเอกชนตอเอกชนแตอยางใด ขอโตแยงดังกลาวฟงไดหรือไม เพียงใด
คณะผูศึกษาวิจัยเห็นวา ดังที่ไดกลาวมาแลววาการปฏิบัติหนาที่ขององคกรคุมครองสิทธิมนุษยชน
มุงหมายที่การตรวจสอบการกระทําของบุคคลวาเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือไมเปนหลัก กลาวอีกนัยหนึ่ง
เงื่อนไขเกี่ยวกับการปฏิบัติหนาที่ขององคกรคุมครองสิทธิมนุษยชนอยูที่ “การกระทํา” อันเปนการละเมิด
สิทธิมนุษยชนเปนสําคัญ มิไดขึ้นอยูกับเงื่อนไขเกี่ยวกับ “ตัวบุคคล” ผูกระทําแตอยางใด โดยนัยดังกลาว การกระทํา
อันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนจึงอาจเกิดขึ้นไดทั้งใน “ความสัมพันธระหวางองคกรของรัฐกับเอกชน” และใน
“ความสัมพันธระหวางเอกชนหรือปจเจกชนดวยกันเอง” โดยสิทธิมนุษยชนยอมจะตองไดรับการเคารพทั้งจาก
องคกรของรัฐและเอกชนหรือ ปจเจกชนทั้งหลายดวย ในอันที่จะตองไมกระทําการใด ๆ อันเปนการละเมิด
สิทธิเหลานี้ของบุคคลคนหนึ่ง สิทธิมนุษยชนประการตาง ๆ ดังที่ไดรับการรับรองและคุมครองในปฏิญญาสากลวาดวย
สิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights) และอนุสัญญาแหงยุโรปวาดวยการคุมครอง
สิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน (European Convention for the Protection of Human Rights and
Fundamental Freedoms) จึงตองตีความอยางกวาง และไดรับการรับรองและคุมครองไมเพียงแตในความ
สัมพันธระหวางองคกรของรัฐและเอกชนเทานั้น หากแตยังไดรับการรับรองและคุมครองในความสัมพันธระหวาง
เอกชนหรือปจเจกชนดวยกันเองอีกดวย การตีความในแนวทางดังกลาวยังไดรับการยืนยันตามขอ 13 ของ
อนุสัญญาแหงยุโรปวาดวยการคุมครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน ซึ่งบัญญัติวา “บุคคลทุกคนซึ่ง
สิทธิและเสรีภาพขั้นพื้นฐานของตนไดรับการคุมครองตามอนุสัญญาฉบับนี้ถูกลวงละเมิด มีสิทธิที่จะฟองคดีตอศาล
125 ภิรมย ศรีประเสริฐ, “ปญหากระบวนการพิจารณาตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนโดยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติของประเทศไทย,”
(วิทยานิพนธมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2551), น.155 - 157.
77