Page 92 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 92
การละเมิดสิทธิมนุษยชนเปนสวนรวม ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติเพิ่มเติมขึ้นดวยโดยใหเปนไปตามพระราชบัญญัติ
ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดี
ปกครอง และที่กฎหมายบัญญัติตามลําดับ ประกอบกับเมื่อพิจารณาบทบัญญัติเกี่ยวกับอํานาจหนาที่ของ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติมาตรา 32 แหงพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542
กําหนดวา ในการปฏิบัติหนาที่ใหคณะกรรมการมีอํานาจที่สําคัญ เชน
- มีหนังสือสอบถามสวนราชการ หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจเพื่อใหมีหนังสือชี้แจงขอเท็จจริง
หรือใหความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติราชการหรืองานใด ๆ หรือสงวัตถุ เอกสาร หรือพยานหลักฐานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือสงผูแทนมาชี้แจงหรือใหถอยคําประกอบการพิจารณาได
- มีหนังสือเรียกบุคคล นิติบุคคล หรือหนวยงานเอกชนที่เกี่ยวของมาใหถอยคําหรือใหสงวัตถุ
เอกสาร หรือพยานหลักฐานอื่นที่เกี่ยวของมาตามวัน เวลา และสถานที่ที่กําหนด
- ดําเนินการขอใหศาลที่มีเขตอํานาจออกหมายเพื่อเขาไปในเคหสถานหรือสถานที่ใด ๆ เพื่อประโยชน
ในการตรวจสอบขอเท็จจริงหรือเพื่อรวบรวมพยานหลักฐานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ
จะเห็นไดวา อํานาจหนาที่หลักของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ คือ อํานาจหนาที่ในการ
ตรวจสอบและรายงานการกระทําหรือละเลยการกระทําอันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือไมเปนไปตาม
พันธกรณีระหวางประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเปนภาคีและเสนอมาตรการแกไขที่เหมาะสม
ตอบุคคลหรือหนวยงานที่กระทําหรือละเลยการกระทําดังกลาวเพื่อใหดําเนินการแกไข หากไมมีการดําเนินการ
แกไขคณะกรรมการตองรายงานตอรัฐสภาเพื่อใหรัฐสภาดําเนินการตอไป ซึ่งลักษณะงานของคณะกรรมการ
สิทธิมนุษยชนแหงชาตินั้นเปนลักษณะของการแกไขปญหาในเชิงนโยบาย หรือการแกไขปญหาในภาพรวม แมวา
ในอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติจะกําหนดอํานาจใหคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
สามารถตรวจสอบการกระทําอันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่เกิดขึ้นเฉพาะรายหรือเฉพาะบุคคลไดดวย
แตการใชอํานาจตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนเฉพาะรายของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาตินั้น
มีวัตถุประสงคเพื่อนําผลการตรวจสอบที่ไดมากําหนดเปนนโยบายการแกไขปญหาในภาพรวม
ยกตัวอยางเชน กรณีที่กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติไดตรวจสอบเรื่อง การเกณฑทหารของ
บุคคลเพศที่สาม และไดมีการดําเนินการผลักดันจนศาลปกครองกลางไดมีคําพิพากษาใหรัฐมนตรีวาการกระทรวง
กลาโหม หนวยบัญชาการรักษาดินแดน (หนวยบัญชาการกําลังสํารองเดิม) และสัสดีจังหวัดลพบุรี เพิกถอนใบรับรอง
ผลการตรวจเลือกทหารกองเกิน (สด.43) ใบสําคัญสําหรับคนจําพวกที่ 4 (สด.5) และใบสําคัญใหรับราชการ
ทหาร (สด.9) ของกลุมเพศที่สามผูฟองคดี ที่ใชขอความวา “เปนโรคจิตถาวร” เนื่องจากเปนการใชดุลพินิจไมชอบ
ดวยกฎหมาย และละเมิดศักดิ์ศรีความเปนมนุษยตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา
4 และ 26 และใหผูถูกฟองคดีทั้ง 3 ดําเนินการใหมีการระบุขอความใหมใหถูกตองตามขอเท็จจริงที่บงบอกถึง
ลักษณะของผูฟองคดีขณะเขารับการตรวจเลือกที่แสดงใหเห็นวาไมอาจเขารับราชการทหารไดตามที่กฎหมาย
กําหนด 123
123 ขาวจากหนังสือพิมพมติชนออนไลน วันที่ 13 กันยายน 2554
73