Page 93 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 93

ศาลพิเคราะหวา การที่คณะกรรมการตรวจเลือกทหารกองเกินอาศัยเพียงขอเท็จจริงเกี่ยวกับ

              สภาพรางกายและบุคลิกดังกลาวของผูฟองคดีที่เปนผูมีภาวะทางเพศสภาพไมตรงกับเพศกําเนิด ซึ่งมิไดสัมพันธกับ
              อาการของผูปวยทางจิตตามความหมายทางวิชาการ แลวนํามาวินิจฉัยวาผูฟองคดีเปนโรคจิตถาวร จึงเปนการใช

              ดุลพินิจวินิจฉัยไมถูกตองตามขอเท็จจริง และยังทําใหผูฟองคดีตองไดรับความอับอายและสูญเสียความภาคภูมิใจ

              ในคุณคาของตนเองที่มีตอคนรอบขางและสังคม เนื่องจากการปรากฏขอความวา เปนโรคจิตถาวรในเอกสาร
              ประจําตัวของผูฟองคดี ซึ่งเปนเอกสารราชการที่ตองนําไปแสดงในการสมัครงานหรือในการอื่น ๆ จึงเปนการตีตราวา

              ผูฟองคดีมีอาการทางจิตผิดปกติอยางรุนแรงและไมอาจรักษาใหหายขาดได ทั้งที่ผูฟองคดีไมไดเปนโรคจิตแตอยางใด
              ซึ่งถือเปนการลดทอนคุณคาความเปนมนุษยของผูฟองคดีใหนอยลง จึงเปนกรณีที่เปนการใชอํานาจตามกฎหมาย

              โดยไมคํานึงถึงศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของผูฟองคดีอันเปนการกระทําที่ไมชอบดวยกฎหมายและกอใหเกิด

              ความเสียหาย อันเปนการละเมิดศักดิ์ศรีความเปนมนุษยซึ่งเปนสิทธิขั้นพื้นฐานของผูฟองคดี
                            ในกรณีนี้ปรากฏวา เพื่อแกปญหาดังกลาวกระทรวงกลาโหมไดดําเนินการเสนอรางกฎกระทรวง

              แกไขเพิ่มเติมกฎกระทรวงฉบับที่ 37 (พ.ศ. 2516) ที่ออกตามพระราชบัญญัติราชการทหาร พ.ศ. 2497 กําหนด

              คนจําพวกที่ 2 ซึ่งมีรางกายที่เห็นไดชัดวาไมสมบูรณดีเหมือนคนจําพวกที่ 1 แตไมถึงทุพพลภาพ โดยเพิ่มเติมวา
              “ขอ 3 (12) ภาวะเพศสภาพไมตรงกับเพศกําเนิด” ซึ่งเปนไปดวยความเห็นชอบดวยกันของผูถูกฟองที่ 1 รัฐมนตรี

              วาการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงสาธารณสุข กลุมเครือขายความหลากหลายทางเพศ รวมทั้งผูฟองดวย

                            จากตัวอยางที่ยกขึ้นมานี้ แสดงใหเห็นโดยชัดเจนวาการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน
              โดยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาตินั้น แมจะเปนการตรวจสอบขอเท็จจริงเฉพาะรายแตมีความประสงค

              จะแกไขปญหาที่เกิดขึ้นในภาพรวมและเปนการแกไขปญหาในเชิงนโยบาย มิใชมีความมุงหมายที่จะเยียวยา
              ความเสียหายเฉพาะกรณีใหแกผูเสียหายเทานั้น  และเมื่อพิจารณาจากบทบัญญัติของพระราชบัญญัติ

              คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542 ก็เห็นไดวา มีบทบัญญัติรองรับใหบุคคลหรือหนวยงานตอง

              ดําเนินการตามคําวินิจฉัยของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ แตหากเปนกรณีพนระยะเวลาที่กําหนดแลว
              ถาบุคคลหรือหนวยงานมิไดมีการดําเนินการตามมาตรการแกไขปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือดําเนินการแลว

              แตยังไมแลวเสร็จโดยไมมีเหตุผลอันสมควรใหคณะกรรมการฯ รายงานตอนายกรัฐมนตรีเพื่อสั่งการใหมีการดําเนินการ
              ตามมาตรการแกไขปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนภายในหกสิบวันนับแตวันที่ไดรับรายงาน ในการนี้ใหคณะกรรมการ

              กําหนดรายละเอียดในการใชอํานาจตามกฎหมายเพื่อการสั่งการของนายกรัฐมนตรีดวย

                            บทบัญญัติดังกลาวนั้นเปนมาตรการบังคับใหบุคคลหรือหนวยงานที่เกี่ยวของตองมีการปฏิบัติตาม
              รายงานที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติไดมีการวินิจฉัยไว และการกําหนดใหคณะกรรมการฯ รายงานตอ

              นายกรัฐมนตรีเพื่อสั่งการใหมีการดําเนินการตามมาตรการแกไขปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนภายในหกสิบวัน

              นับแตวันที่ไดรับรายงาน ในการนี้ ใหคณะกรรมการกําหนดรายละเอียดในการใชอํานาจตามกฎหมายเพื่อการ
              สั่งการของนายกรัฐมนตรีดวย โดยเหตุผลในการกําหนดใหคณะกรรมการรายงานตอนายกรัฐมนตรีเพื่อสั่งการใหมี

              การดําเนินการตามมาตรการแกไขปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนนั้น มิไดหมายความวาเปนอํานาจของนายกรัฐมนตรี

              ที่จะพิจารณาสั่งการใหมีการดําเนินการตามมาตรการแกไขปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนกรณีที่หนวยงานของรัฐ
              กระทําการละเมิดตอเอกชน หรือหนวยงานของรัฐทําการละเมิดตอหนวยงานของรัฐเทานั้น แตอํานาจการสั่งการ



          74
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98