Page 91 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 91

การวิเคราะหปญหาเกี่ยวกับอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติในการตรวจสอบ

              การกระทําอันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธระหวางเอกชนดวยกันในบทนี้ คณะผูวิจัยไดแบงหัวขอ
              การศึกษาออกเปน 2 ประการ ไดแก

                     (1) ปญหาเกี่ยวกับอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติในการตรวจสอบการกระทํา

              อันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธระหวางเอกชนดวยกัน
                     (2)  กรณีศึกษาและการวิเคราะหการตรวจสอบของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติเกี่ยวกับ

              การกระทําอันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธระหวางเอกชนดวยกัน ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้


              3.1 ปญหาเกี่ยวกับอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติในการตรวจสอบการกระทําอันเปน

              การละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธระหวางเอกชนดวยกัน

                     ปญหาเกี่ยวกับอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติในการตรวจสอบการกระทํา
              อันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธระหวางเอกชนดวยกันของประเทศไทยนั้น อาจกลาวไดวาเปนปญหา

              ที่เกิดจากแนวความคิดพื้นฐานเกี่ยวกับหลักการคุมครองสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย เนื่องจากคณะกรรมการ
              สิทธิมนุษยชนแหงชาติ  เปนองคกรที่เกิดขึ้นตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 อันเปน

              กฎหมายมหาชนซึ่งมุงจะจัดระเบียบการปกครองของรัฐในทางการเมือง การกําหนดโครงสรางของรัฐ ระบบการ

              ปกครอง การใชอํานาจอธิปไตย และการรับรองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนในประเทศ ฉะนั้น จึงมีผูเขาใจ
              วาการกอตั้งคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาตินั้น เปนไปเพื่อประโยชนในการคุมครองศักดิ์ศรีความเปนมนุษย

              สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทยที่รัฐธรรมนูญรับรองไว  ใหพนจากการใชอํานาจขององคกรของรัฐทุกองคกรเทานั้น
              เปนผลใหเมื่อคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติมีหนังสือเรียกบุคคล นิติบุคคล หรือหนวยงานเอกชนที่เกี่ยวของ

              มาใหถอยคําหรือใหสงวัตถุ เอกสาร หรือพยานหลักฐานอื่นที่เกี่ยวของมาตามวัน เวลา และสถานที่ที่กําหนด

              จึงไมไดรับความรวมมือเทาที่ควร
                     กรณีดังกลาว เมื่อพิจารณากรอบอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติแลว จะเห็นไดวา

              เจตนารมณของกฎหมายที่จัดตั้งรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ฉบับพุทธศักราช 2540 ซึ่งเปนรัฐธรรมนูญ

              ฉบับแรกของประเทศไทยที่ไดกอใหเกิดคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ในมาตรา 200 ไดกําหนดให
              คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติมีอํานาจหนาที่ในการตรวจสอบ และรายงานการกระทําหรือละเลยการกระทํา

              อันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชน หรือไมเปนไปตามพันธกรณีระหวางประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทย

              เปนภาคี และเสนอมาตรการแกไขที่เหมาะสมตอบุคคลหรือหนวยงานที่กระทําหรือละเลยการกระทําดังกลาว
              เพื่อใหดําเนินการแกไข หากไมมีการดําเนินการแกไขคณะกรรมการตองรายงานตอรัฐสภาเพื่อใหรัฐสภาดําเนินการตอไป

                     นอกจากคณะกรรมการฯ จะมีอํานาจในการตรวจสอบและรายงานการกระทําดังกลาวแลว ยังมีอํานาจ
              หนาที่ในการเสนอแนะนโยบาย และขอเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย กฎ หรือขอบังคับตอรัฐสภาและ

              คณะรัฐมนตรี เพื่อสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนดวย และตอมารัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

              พุทธศักราช 2550 ไดประกาศใชบังคับ ก็ไดมีการกําหนดอํานาจเพิ่มเติมใหใหอํานาจ มาตรา 257 ของรัฐธรรมนูญ
              แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 กําหนดใหคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติใหมีอํานาจฟองคดี

              ตอศาลยุติธรรมแทนผูเสียหาย เมื่อไดรับการรองขอจากผูเสียหายและเปนกรณีที่เห็นสมควรเพื่อแกไขปญหา

          72
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96