Page 75 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 75

การคุมครองสิทธิของผูรองเรียนตามพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ

              กําหนดวา ประชาชนไมควรตกเปนผูถูกละเมิด  ดังนั้น จึงไมไดมีมาตรการในการคุมครองผูรองเรียนเมื่อมีการ
              ละเมิดสิทธิมนุษยชน หากผูรองเกรงวาจะไมไดรับความปลอดภัยตองไปอาศัยกลไกของตํารวจในการคุมครอง

              แตในขั้นตอนการสอบสวนของคณะกรรมการฯ  เจาหนาที่ของรัฐก็ไมสามารถจะเขามาแทรกแซงได

                            การประชาสัมพันธชองทางการรองเรียน โดยปกติก็จะมีผูที่เขามารองเรียนยังคณะกรรมการฯ
              วันละประมาณ 80 คน และเมื่อมีการจัดทํารายงานเสร็จแลวก็จะมีการพิมพเผยแพรใหประชาชนทราบ

              ซึ่งขอเสนอแนะในเรื่องตาง ๆ ก็คอนขางตรงใจประชาชน ดังนั้น จึงทําใหประชาชนทราบเกี่ยวกับชองทาง
              การรองเรียน และเห็นความสําคัญและยอมรับในความมีอยูขององคกรของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ


                     2.2.5 บทบาทและอํานาจหนาที่ขององคกรที่ทําหนาที่คุมครองสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย


                            ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ไดกําหนดใหมีองคกร
              ทําหนาที่ใหความคุมครองสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งแบงออกไดเปน 2 กลุม คือ กลุมแรกคือ การใหความ

              คุมครองสิทธิและเสรีภาพของบุคคลโดยองคกรตุลาการ ซึ่งไดแก ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง ศาลทหาร และ

              ศาลรัฐธรรมนูญ และกลุมที่สองคือ  การใหความคุมครองสิทธิและเสรีภาพของบุคคลโดยองคกรตามรัฐธรรมนูญ
              ซึ่งไดแก ผูตรวจการแผนดิน และคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ นอกจากนี้ ยังมีหนวยงานภายในองคกร

              ของรัฐที่ทําหนาที่คุมครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนเปนการเฉพาะอีกดวย โดยการทําหนาที่ใหความคุมครอง

              สิทธิและเสรีภาพของบุคคลตามรัฐธรรมนูญขององคกรเหลานี้มีหลักเกณฑและวิธีการที่แตกตางกันไปตามที่กําหนด
              ไวในกฎหมาย ในที่นี้จะไดทําการศึกษาองคกรที่ทําหนาที่ใหความคุมครองสิทธิโดยแบงออกเปน

                            (ก)    องคกรในฝายนิติบัญญัติ
                            (ข)    องคกรในฝายบริหาร

                            (ค)    องคกรในฝายตุลาการ และ

                            (ง)    องคกรเฉพาะดานคุมครองสิทธิ
                            ซึ่งมีรายละเอียดตามลําดับดังนี้

                            1)   องคกรในฝายนิติบัญญัติ
                                 โดยทั่วไปแลวองคกรฝายนิติบัญญัติมีความผูกพันที่จะตรากฎหมายกําหนดรายละเอียดตาง ๆ

              ใหเปนไปตามที่รัฐธรรมนูญ โดยเฉพาะอยางยิ่งในกรณีที่บทบัญญัติเกี่ยวกับสิทธิและเสรีภาพนั้น ไดกําหนดให

              ฝายนิติบัญญัติออกกฎหมาย หรือออกกฎเกณฑรายละเอียดในเรื่องนั้น ๆ เพื่อใหสิทธิและเสรีภาพนั้นสามารถ
              มีผลเปนจริงไดในทางปฏิบัติ กรณีเชนนี้รัฐธรรมนูญกําหนดใหเปนหนาที่ของฝายนิติบัญญัติในการกําหนดกฎเกณฑ

              เรื่องนั้น ๆ เพื่อใหสิทธิและเสรีภาพตามที่รัฐธรรมนูญรับรองไวมีผลเปนจริงในทางปฏิบัติ

                                 นอกจากนี้ รัฐธรรมนูญไดเรียกรองการใชการอํานาจตรากฎหมายของฝายนิติบัญญัติวา
              หากกฎหมายของฝายนิติบัญญัติมีผลเปนการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลตามรัฐธรรมนูญ การตรากฎหมาย

              ของฝายนิติบัญญัติตองคํานึงถึงหลักการตรากฎหมายจํากัดสิทธิตามที่กําหนดไวในรัฐธรรมนูญดวย เชน กฎหมาย

              ที่มีผลเปนการจํากัดสิทธิและเสรีภาพ จะตองกระทําเทาที่จําเปนและจะกระทบกระเทือนถึงสาระสําคัญแหง



          56
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80