Page 73 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 73

2)  อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการ

                               อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติสาธารณรัฐเกาหลี (National
              Human Rights Commission of Korea ) ตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ

              ค.ศ. 2005 (National Human Rights Commission of the Republic of Korea Act) มีดังนี้

                               -  พัฒนา สนับสนุนและใหขอคิดเห็นเกี่ยวกับนโยบายดานสิทธิมนุษยชน รวมทั้งสํารวจ
              วิจัย แสดงความคิดเห็น และใหขอเสนอแนะในประเด็นสิทธิมนุษยชนใหแกรัฐบาล เพื่อนําไปปกปองคุมครอง

              สิทธิมนุษยชนแกประชาชน
                               - สอบสวนและเยียวยาใหกับเหยื่อผูถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน และประเด็นที่เกี่ยวของกับ

              การเลือกปฏิบัติ

                               -  สงเสริมและสรางความตระหนักในดานสิทธิมนุษยชนศึกษาในโรงเรียน ภาครัฐ และ
              ภาคประชาสังคม

                               - ประสานความรวมมือภายในประเทศกับหนวยงานที่เกี่ยวของ NGOs และผูมีสวน

              ไดเสีย
                               -  ประสานความรวมมือระหวางประเทศกับสถาบันสิทธิมนุษยชนแหงชาติผานทาง The

              Asia Pacific Forum of National Human Rights Institutions (APF) และ The International Coordinating

              Committee of National institutions for the Promotion and Protection of human Rights (ICC)
                                 -  ประสานความรวมมือกับองคการสหประชาชาติ

                                   เมื่อพิจารณาจากอํานาจหนาที่ขางตนแลว คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
              ของสาธารณรัฐเกาหลี จะมีลักษณะเฉพาะเปนของตนเอง ดังนี้

                                   ก.  มีอํานาจพิจารณาเรื่องที่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน

                                   ข.  เปนหนวยงานที่ทําหนาที่การตรวจสอบและเยียวยาในกรณีที่มีการละเมิด
              สิทธิมนุษยชน แตไมมีบทอํานาจลงโทษ มีอํานาจเพียงใหขอเสนอแนะตอรัฐบาลหรือศาล โดยไมมีขอบังคับให

              หนวยงานที่เกี่ยวของปฏิบัติตามขอเสนอแนะ แตโดยทั่วไปเมื่อมีขอเสนอแนะแลวก็จะมีการกดดันจากองคกรอื่น ๆ
              ที่เกี่ยวของในสังคม เชน สื่อมวลชน เปนตน ซึ่งสวนใหญรัฐบาลก็จะดําเนินการตามขอเสนอแนะของคณะกรรมการ

              สิทธิมนุษยชนแหงชาติ คิดเปนรอยละ 90

                                   ค.  มีความเปนอิสระตามหลักการปารีส แตก็ไดทํางานรวมกับภาคสังคม มิไดทํางาน
              แตเพียงลําพัง

                                   ง.  เปนองคกรกึ่งระหวางประเทศ โดยจะมีกลุมทํางานดานระหวางประเทศ และภายใน

              ประเทศ ในเรื่องสิทธิมนุษยชนระหวางประเทศก็ไดมีการนําหลักการของสหประชาชาติมาปรับใช สําหรับการจัดทํา
              รายงานประเทศ พระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ จะกําหนดใหเปนหนาที่ของทุกหนวยงาน

              ตองจัดทํารายงานที่ไดรับคําแนะนําหรือคําปรึกษาจากคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ

                                   การพิจารณาเรื่องรองเรียนวาจะรับไวพิจารณาดําเนินการไดหรือไมนั้น คณะกรรมการ
              สิทธิมนุษยชนแหงชาติสาธารณรัฐเกาหลี จะระบุขอบเขตและอํานาจหนาที่ไวชัดเจนไวในพระราชบัญญัติคณะกรรมการ



          54
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78