Page 71 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 71

ที่เปนการบังคับใหทํางานการใชคนเปนทาส การกอการราย การทําลายลางชาติพันธุ หรือการนํามนุษยไปใช

              ในทางทดลอง การกระทําเหลานี้ลวนแตเปนการละเมิดตอศักดิ์ศรีความเปนมนุษยทั้งสิ้น ยกตัวอยางเชน ในชวง
              สงครามโลกครั้งที่ 2 ที่เกิดขึ้นในประเทศเยอรมนี ภายใตการนําของอดอลฟ ไอชมาน (Adolf Eichmann) มีการ

              โกนหัวสตรี แลวนําเอาผมไปทอเปนเครื่องนุงหมเพื่อใหความอบอุนแกรางกาย โดยไมคํานึงวาเจาของผมเหลานั้น

              จะหนาวเหน็บเพียงใดในฤดูหนาว หรือการใชมนุษยเปนเครื่องทดลองยาโดยฉีดสารตาง ๆ เขารางกาย
              ซึ่งการทดลองที่นิยมกันมากคือ การนํามนุษยฝาแฝดมาใชทดลอง โดยความเชื่อวานาจะมีคุณสมบัติเหมือนกัน

              มากกวามนุษยอื่น ๆ และนาจะใหผลการทดลองที่ใกลเคียงความจริงที่สุด โดยไมคํานึงวามนุษยเหลานั้นจะไดรับ
              ผลรายเชนไร เปนตน

                            อาจกลาวโดยสรุปไดเปนหลักกวาง ๆ ไดวา การดําเนินการใด ๆ ที่กระทําโดยมีลักษณะไมใหความ

              สําคัญแกมนุษย ทําใหมนุษยถูกลดคุณคาของตนเองลงมาเปนเพียงวัตถุของการกระทํา หรือกระทําการใด ๆ ก็ตาม
              ที่ทําใหความเปนมนุษยถูกลดคุณคาลงตํ่ากวาจารีตในทางปฏิบัติที่บุคคลในฐานะนั้น ๆ พึงจะปฏิบัติตอกัน

              ยอมถือวาเปนการละเมิดตอศักดิ์ศรีความเปนมนุษยทั้งสิ้น

                            ในสวนที่เกี่ยวกับองคกรคุมครองสิทธิมนุษยชนนั้น นอกเหนือจากบทบาทและอํานาจหนาที่ของ
              องคกรที่ทําหนาที่คุมครองสิทธิมนุษยชนในทวีปยุโรป ซึ่งสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี จะตองปฏิบัติตามในฐานะ

              ประเทศที่อยูในกลุมสหภาพยุโรปแลว เมื่อตรวจสอบจากกฎหมายภายในของสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนีแลว

              พบวา สหพันธสาธารณรัฐเยอรมนีไมมีองคกรเฉพาะที่ทําหนาที่คุมครองสิทธิมนุษยชนโดยตรงดังเชนประเทศอื่น ๆ
              แตการคุมครองสิทธิมนุษยชนของสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนีนั้นจะกระทําโดยองคกรศาล กลาวคือ หากมีการ

              กระทําที่เปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนแลว ก็จะมีการเสนอเรื่องสูศาลปกครอง หรือศาลรัฐธรรมนูญแลวแตกรณี
              ตามเขตอํานาจของศาลนั้น ๆ แตลักษณะพิเศษของศาลรัฐธรรมนูญของสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี ประการหนึ่งคือ

              การกําหนดใหบุคคลสามารถเสนอคดีตอศาลรัฐธรรมนูญไดโดยตรง แตอยูภายใตเงื่อนไขวาบุคคลที่เสนอคดีตอศาล

              รัฐธรรมนูญนั้นจะตองใชมาตรการเยียวยาตามขั้นตอนที่กําหนดไวครบถวนแลว และยังไมไดรับการเยียวยา
              ที่เพียงพอ จึงจะสามารถเสนอคดีตอศาลรัฐธรรมนูญใหพิจารณาเรื่องได


                     2.2.3  บทบาทและอํานาจหนาที่ขององคกรที่ทําหนาที่คุมครองสิทธิมนุษยชนในประเทศแคนาดา

                            ประเทศแคนาดาไดตรากฎหมายที่เกี่ยวของกับการคุมครองสิทธิมนุษยชน ไดแก Canadian

              Human Rights Act 1985   ซึ่งมีหลักการเพื่อรับรองความเสมอภาคของบุคคลขจัดการเลือกปฏิบัติ
                                        111
              ในการจางงาน และการไดรับความคุมครองจากการพิจารณาคดีของศาลอยางเทาเทียมกัน
                            กฎหมายดังกลาวไดกําหนดใหจัดตั้งองคกรคุมครองสิทธิมนุษยชนไวเปนการเฉพาะ เมื่อป

              ค.ศ. 1977  ไดแก คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติแหงแคนาดา (the Canadian Human Rights

              Commission) และไดกําหนดสาระสําคัญเกี่ยวกับองคกรคุมครองสิทธิมนุษยชนของแคนาดาดังกลาวไว ดังนี้








              111  http://laws-lois.justice.gc.ca/eng/acts/h-6/page-1.html

          52
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76