Page 70 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 70

ตอมา ศาลรัฐธรรมนูญไดมีคําวินิจฉัยไวอีกเรื่องหนึ่งวา การที่รัฐธรรมนูญบัญญัติรับรองเรื่องศักดิ์ศรี

               ความเปนมนุษยไวในรัฐธรรมนูญ ยอมเปนการสรางหลักประกันแกบุคคลในฐานะที่บุคคลนั้นเปนมนุษย ศักดิ์ศรี
               ความเปนมนุษยจึงเปนหลักสูงสุดของรัฐธรรมนูญ ดังนั้น การกระทําของรัฐทั้งหลายจึงตองสอดคลองกับคุณคา

               อันสูงสุดของรัฐธรรมนูญดวย ทั้งนี้ เพราะมนุษยถือเปนเปาหมายในการดําเนินการของรัฐ มิใชเปนเพียงเครื่องมือ

               ในการดําเนินการของรัฐ การดํารงอยูของรัฐก็เปนการดํารงอยูเพื่อมนุษย มิใชมนุษยดํารงอยูเพื่อรัฐ ดวยเหตุนี้ ศักดิ์ศรี
               ความเปนมนุษยจึงเปนพื้นฐานสําคัญสําหรับการวางรากฐานของหลักเสรีภาพของบุคคล และหลักความเสมอภาค 109

               ซึ่งกอใหเกิดผลสําคัญ 2 ประการคือ ประการแรก การตีความเกี่ยวกับสิทธิและเสรีภาพทั้งหลายจะตอง
               ถือวาเนื้อหาของศักดิ์ศรีความเปนมนุษยเปนพื้นฐานที่จะตองนํามาใชประกอบในการตีความสิทธิและเสรีภาพ

               ประเภทอื่น ๆ ดวย และประการที่สอง อาจกลาวไดวาเนื้อหาในทางหลักการทั่วไปเกี่ยวกับสิทธิและเสรีภาพ

               ทั้งหลาย รวมทั้งความหมายของการแทรกแซงในขอบเขตที่ไดรับการคุมครองของสิทธิและเสรีภาพทุกประเภท
               นั้นไดรับการพัฒนาจากศักดิ์ศรีความเปนมนุษย

                             เหตุผลสําคัญที่ตองนําเรื่องศักดิ์ศรีความเปนมนุษยมาอธิบายในฐานะเปนรากฐานของสิทธิมนุษยชน

               เพราะเหตุวาศักดิ์ศรีความเปนมนุษยนั้นแทจริงแลวมีฐานะเปนสาระสําคัญแหงสิทธิและเสรีภาพทั้งปวง ซึ่งความ
               สําคัญดังกลาวจะมีผลตอการกําหนดทิศทางของรัฐในฐานะเปนตัวกําหนดและเปนขอจํากัดการดําเนินภาระหนาที่

               ของรัฐ โดยเฉพาะอยางยิ่งการตรากฎหมายเพื่อจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลโดยฝายนิติบัญญัติ เนื่องจาก

               รัฐธรรมนูญในรัฐเสรีประชาธิปไตยทั้งหลายวางหลักไววา ฝายนิติบัญญัติจะตรากฎหมายซึ่งมีผลเปนการจํากัด
               สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญโดยกระทบกระเทือนถึงสาระสําคัญแหงสิทธิมิได (Wesengehaltsgarantie)

               จากหลักประกันดังกลาวกอให เกิดคําถามวา อะไรคือสาระสําคัญแหงสิทธิและเสรีภาพแตละประเภท และมีขอบเขต
               แคไหนเพียงไร ประเด็นคําถามนี้เปนปญหาที่ยังขาดความชัดเจน ตอมา จึงไดมีการเสนอใหนําหลักศักดิ์ศรีความเปนมนุษย

               มาเปนหัวใจหรือสาระสําคัญของสิทธิและเสรีภาพ โดยใหถือวาศักดิ์ศรีความเปนมนุษยเปนสารัตถะอันเปนแกน

               ของสิทธิและเสรีภาพแตละประเภท ซึ่งรัฐไมอาจลวงละเมิดไดในขอบเขตดังกลาว หากการจํากัดสิทธิและเสรีภาพใด
               มีผลกระทบตอศักดิ์ศรีความเปนมนุษย การจํากัดสิทธิและเสรีภาพนั้นยอมเปนการกระทบกระเทือนตอสาระสําคัญ

               แหงสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ 110
                             ปญหาประการตอมาคือ การกระทําอยางไรจึงเปนการละเมิดตอศักดิ์ศรีความเปนมนุษย ซึ่งการ

               อธิบายในเรื่องนี้วิธีที่ดีที่สุดคือ การอธิบายเรื่องดังกลาวในเชิงปฏิเสธ โดยศาลรัฐธรรมนูญแหงสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี

               ไดเคยวินิจฉัยการกระทําซึ่งเปนการละเมิดตอศักดิ์ศรีความเปนมนุษยโดยวิธีการอธิบายถอยคําตาง ๆ เชน การทําให
               ไดรับความอับอาย การติดตามไลลาการเนรเทศ และการลงโทษที่มีลักษณะโหดรายทารุณ หรือการกระทํา




               109  แนวคิดเกี่ยวกับศักดิ์ศรีความเปนมนุษยประกอบดวยรากฐานอันเปนสาระสําคัญ 2 ประการที่ไมอาจแยกออกจากกันได คือ สิทธิในชีวิตและรางกาย
               และสิทธิในความเสมอภาคสิทธิในชีวิตและรางกาย เปนสิทธิขั้นพื้นฐานที่แสดงใหเห็นวามนุษยมีอิสระที่จะกําหนดตนเองไดตามเจตจํานงที่ตนประสงคใน
               อันที่จะพัฒนาบุคลิกภาพสวนบุคคลซึ่งทําใหมนุษยมีความแตกตางจากสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ
                 สิทธิในความเสมอภาค เปนการแสดงใหเห็นวามนุษยทุกคนมีสิทธิและเสรีภาพเทาเทียมกัน เพราะแมวามนุษยจะมีสิทธิในชีวิตและรางกายของตนแตหาก
               ขาดหลักประกันในเรื่องความเสมอภาคแลว บุคคลนั้นอาจไดรับการปฏิบัติอยางไมเทาเทียมกับบุคคลอื่นๆ ในสังคมหรืออาจถูกเลือกปฏิบัติจากผูใชอํานาจรัฐ
               ดังนั้น นอกจากบุคคลจะตองมีสิทธิในชีวิตและรางกายแลว บุคคลยังจะตองไดรับหลักประกันในเรื่องความเสมอภาคดวย ซึ่งตองเขาใจตอไปดวยวาเสรีภาพ
               ในการกําหนดตนเองจะมีความเทาเทียมกันในสายตากฎหมายเทานั้น เพราะในทางความเปนจริงแลวบุคคลยอมมิอาจเทาเทียมกันไดในทุกๆ ดาน
               110  บรรเจิด สิงคะเนติ, หลักพื้นฐานเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพ และศักดิ์ศรีความเปนมนุษย, พิมพครั้งที่ 3, (กรุงเทพฯ : วิญูชน, 2552), น. 92 - 93.

                                                                                                               51
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75