Page 65 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 65

สิทธิที่จะไดรับประโยชนจากการใหบริการทางสวัสดิการสังคม สิทธิที่จะไดรับการปกปองคุมครองใหพนจาก

              ความยากจนและการกีดกันทางสังคมรวมทั้งสิทธิในการมีที่อยูอาศัยอันเหมาะสม
                            กลุมที่สาม เปนการรับรองและคุมครองเปนการเฉพาะซึ่งอยูนอกเรื่องสิ่งแวดลอมในการทํางาน

              อันประกอบดวย สิทธิของเด็กและเยาวชน มารดา ครอบครัว คนพิการ คนชรา รวมทั้งคนงานอพยพและครอบครัว

              ของพวกเขา
                            อยางไรก็ดี ในสวนของกลไกการใหความคุมครองสิทธิตามกฎบัตรทางสังคมของยุโรปนั้นกลับมิได

              มีขนาดเปนศาลสิทธิมนุษยชนแบบอนุสัญญายุโรปฯ แตเปนระบบการใหทํารายงานเสนอตอเลขาธิการของ
              สภาแหงยุโรปทํานองเดียวกับกลไกในระดับสหประชาชาติ หลังจากนั้นก็จะมี“คณะกรรมาธิการผูเชี่ยวชาญอิสระ

              (Committee of Independent Expert : CIE) ทําหนาที่ตรวจสอบรายงานของแตละประเทศในแงของกฎหมาย

              วามีการปฏิบัติตามพันธกรณีตาง ๆ ที่บัญญัติไวในกฎบัตรมากนอยเพียงใด ทั้งนี้ จะมีผูสังเกตการณจากองคการ
              แรงงานระหวางประเทศ (ILO) ซึ่งทําหนาที่ชวยเหลือใหคําปรึกษา โดยผลสรุปของคณะกรรมาธิการนี้จะสงตอ

              ใหคณะกรรมาธิการฝายรัฐบาล(Governmental Committee) เพื่อสรุปพิจารณาเปนรายงานและเสนอ

              ความเห็นตาง ๆ ตอคณะกรรมการรัฐมนตรี ซึ่งจะเปนองคกรสุดทายในการมีมติกําหนดขอแนะนําหรือเสนอแนวทาง
              แกไขตอรัฐที่มีขอบกพรองในการปฏิบัติตามกฎบัตรทางสังคมของยุโรปตอไป


                     2.1.2 บทบาทและอํานาจหนาที่ขององคกรที่ทําหนาที่คุมครองสิทธิมนุษยชนในทวีปอเมริกา


                            การประกาศใชอนุสัญญายุโรปวาดวยการคุมครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน
              ค.ศ. 1950 ไดแผอิทธิพลทางความคิดไปยังทวีปอเมริกา จนนํามาสูการรวมมือกันเพื่อจัดทําสนธิสัญญาใหความ

              คุมครองสิทธิมนุษยชนขึ้นฉบับหนึ่งซึ่งมีลักษณะเปนการดําเนินงานตามแบบอยางเชนเดียวกับอนุสัญญายุโรปฯ
              โดยระบบการคุมครองสิทธิมนุษยชนในทวีปอเมริกาถือกําเนิดขึ้นในคราวที่มีการประชุมของกลุมประเทศระหวาง

              รัฐอเมริกันครั้งที่ 9 ประเทศโคลัมเบีย เพื่อลงมติใหกอตั้งองคการแหงรัฐอเมริกัน (Organization of American

              States : OAS)  ควบคูกับการประกาศกฎบัตรขององคการแหงรัฐอเมริกัน ซึ่งมีสถานะเปนสนธิสัญญา
                            100
              แบบพหุภาคี และมีผลใชบังคับเมื่อป ค.ศ. 1951 ซึ่งวัตถุประสงคและการจัดโครงสรางขององคการนี้มีลักษณะ

              เชนเดียวกับองคการสหประชาชาติ กลาวคือ เปนการสรางระบบภูมิภาคเพื่อใชเปนสถานที่ยุติขอพิพาทอยางสันติ
              สรางสันติภาพและความมั่นคงในภูมิภาคพรอม ๆ กับการสงเสริมระบบประชาธิปไตยแบบมีตัวแทน การพัฒนา

              ทางเศรษฐกิจ สังคม และการคุมครองสิทธิมนุษยชน

                            นอกจากการรับรองคุมครองสิทธิมนุษยชนไวในกฎบัตรขององคการแหงรัฐอเมริกันแลว ยังมีการ
              รับรองคุมครองสิทธิมนุษยชนไวในอนุสัญญาตาง ๆ อีกมากมาย ซึ่งอนุสัญญาที่มีความสําคัญมีอยูสามฉบับ คือ






              100  องคการแหงรัฐอเมริกัน (Organization of American States : OAS) ประกอบดวยประเทศสมาชิก 35 ประเทศ ประกอบดวยสมาชิกกอตั้ง 21 ประเทศ
               (ค.ศ. 1948) ไดแก อารเจนตินา โบลิเวีย บราซิล  ชิลี โคลัมเบีย คอสตาริกา คิวบา สาธารณรัฐโดมินิกัน  เอกวาดอร เอลซัลวาดอร กัวเตมาลา เฮติ ฮอนดูรัส
                เม็กซิโก นิการากัว ปานามา ปารากวัย เปรู สหรัฐอเมริกา อุรุกวัย เวเนซุเอลา และสมาชิกที่เขารวมภายหลัง 14 ประเทศ ไดแก แอนติกัวและบารบูดา
                เซนตวินเซนตและเกรนาดีน จาเมกา บารเบโดส เกรนาดา สุรินัม โดมินิกา  เซนตลูเซีย บาฮามาส เซนตคิตสและเนวิส แคนาดา เบลิซ กายอานา  ตรินิแดด
                และโตเบโก (หมายเหตุ: เมื่อป ค.ศ. 1962 คิวบาถูกระงับการเขารวมกิจกรรมตาง ๆ ขององคการฯ แตยังมิไดถูกขับออกจากสมาชิกภาพ)


          46
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70