Page 69 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติกับการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนในความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนด้วยกัน
P. 69

2)   อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการ

                                 คณะกรรมการที่ปรึกษาแหงชาติดานสิทธิมนุษยชนมีบทบาทเปนที่ปรึกษาและให
              ขอเสนอแนะตาง ๆ เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน กฎหมายระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชน และกิจกรรมดาน

              สิทธิมนุษยชน คณะกรรมการจัดทําความเห็นเสนอตอนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีตาง ๆ ที่เกี่ยวของเกี่ยวกับ

              ปญหาทั่วไปที่อยูในอํานาจของตนทั้งกิจการภายในและกิจการระหวางประเทศ
                                 คณะกรรมการที่ปรึกษาแหงชาติดานสิทธิมนุษยชนยังสามารถกําหนดมาตรการตาง ๆ ที่จําเปน

              เพื่อการคุมครองและสงเสริมสิทธิมนุษยชน และเสนอมาตรการนั้นตอนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีที่เกี่ยวของได
                                                                                                          106
              อีกดวย

                               ทั้งนี้ คณะกรรมการปฏิบัติตามอํานาจหนาที่ของตนโดยเปนอิสระอยางเต็มที่ (en toute

              independance)  107
                               อนึ่ง นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีสามารถขอความเห็นจากคณะกรรมการได หรือขอให

              คณะกรรมการทําการศึกษาเรื่องหนึ่งเรื่องใดที่เกี่ยวของ 108


                     2.2.2.  บทบาทและอํานาจหนาที่ขององคกรที่ทําหนาที่คุมครองสิทธิมนุษยชนในสหพันธสาธารณรัฐ

              เยอรมนี
                            ในชวงระยะเวลาระหวางสงครามโลกครั้งที่ 1 กับครั้งที่ 2 ไดเกิดระบอบการปกครองแบบเผด็จการ

              ซึ่งกอตัวขึ้นในสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี  เมื่อ ค.ศ. 1920 และดําเนินตอไปจนถึงสงครามโลกครั้งที่ 2 ระบอบ
              การปกครองดังกลาว ไดมีการลวงละเมิดสิทธิมนุษยชนอยางรุนแรง ในขณะที่สงครามโลกครั้งที่ 2 ทําใหเกิดการทําลาย

              ลางชีวิต และศักดิ์ศรีของมนุษยชนอยางกวางขวาง รวมทั้งความพยายามที่จะทําลายกลุมชนตาง ๆ โดยอางเหตุ

              แหงเชื้อชาติและศาสนา ดังนั้น จึงปรากฏอยางแนชัดวาจําเปนตองมีบทบัญญัติระดับนานาชาติ เพื่อเปนเครื่องมือ
              ในการคุมครองสิทธิมนุษยชน เพราะการเคารพสิทธิมนุษยชนนับเปนหนทางสําคัญที่จะนําไปสูสันติภาพและ

              ความสงบสุขของโลก เหตุการณดังกลาวเปนบทเรียนสําคัญที่สงผลใหสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี ไดใหความสําคัญ
              กับเรื่องสิทธิมนุษยชนเปนอยางมาก โดยรัฐธรรมนูญของสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี ไดมีการบัญญัติรับรองและ

              คุมครองสิทธิมนุษยชนไวอยางชัดเจน โดยเฉพาะ “ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย” ซึ่งรัฐหรือบุคคลอื่นจะลวงละเมิดไมได

              โดยถือวา“ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย” เปนรากฐานของสิทธิมนุษยชน ซึ่งตามแนวคําวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ
              แหงสหพันธของเยอรมันไดเคยวินิจฉัยเกี่ยวกับความหมายของศักดิ์ศรีความเปนมนุษยไววา ศักดิ์ศรีความเปน

              มนุษยนั้นเปนการเรียกรองการสรางตนเองอยางอิสระของบุคคล เนื่องจากมนุษยมีคุณลักษณะสวนบุคคลที่มีความ

              สามารถสรางชีวิตบนความรับผิดชอบของตนเองได ดังนั้น เพื่อเห็นแกศักดิ์ศรีความเปนมนุษยจึงตองทําใหเกิด
              ความมั่นคงแกบุคคลในอันที่จะพัฒนาลักษณะสวนบุคคลใหมากที่สุดเทาที่จะเปนไปได สําหรับในรัฐประชาธิปไตย

              ศักดิ์ศรีความเปนมนุษยถือเปนสิ่งที่มีคุณคาสูงสุดอันมิอาจลวงละเมิดได จึงเปนสิ่งที่ตองไดรับความเคารพและไดรับ

              ความคุมครองจากรัฐ



              106  Art. 1, al. 1, L. 5 mars 2007
              107  Art. 1, al. 2, L. 5 mars 2007
              108  Art. 2, al. 1, D. 26 juillet 2007

          50
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74