Page 93 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 93

66  รายงานการศึกษาวิจัย
              การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี



                     นอกจากองคกรเหลานี้แลว ในกระบวนการแกไขปญหาตามขอรองเรียนที่เกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติในการ
              ประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี ยังมีสภาทนายความเปนองคกรที่สําคัญในการเปนที่ปรึกษาดานกฎหมายและ

              องคกรสนับสนุนเมื่อเกิดคดีฟองรองอีกดวย
                     ในสวนขององคกรภาคประชาสังคม มีคณะกรรมการองคการพัฒนาเอกชนดานเอดส (กพอ.) เปนองคกร

              ที่ทําหนาที่ในการประสานงานองคกรพัฒนาเอกชนที่ทํางานเกี่ยวกับเอดส เพื่อการแกไขปญหาและปองกันปญหา
              เอดส โดยประกอบดวย องคกรสมาชิกประมาณ 155 องคกร ซึ่งไดมีการดําเนินการตั้งแตป พ.ศ. 2536 นอกจากนี้

              กพอ. ยังดําเนินงานควบคูกับภาครัฐในการแกไขปญหาเอดสรวมถึงการเชื่อมโยงความรวมมือเชิงมหภาค
                                                         167
              ในภาพรวมนโยบายดานเอดสของทั้งประเทศอีกดวย และเนื่องจากมีสมาชิกในเครือขาย กพอ. รวมเปน คช.ปอ.
              อยูหลายคน การดําเนินงานของ กพอ. จึงมีสวนสนับสนุนการดําเนินงานของ คช.ปอ. อยูไมนอย ที่ชัดเจนที่สุด
              คือ การที่ กพอ. จัดทํารายงานการวิเคราะหนโยบายการตอบสนองตอปญหาเอดสของประเทศไทย ในมุมมองของ

              ภาคประชาสังคม ฉบับป พ.ศ. 2552 และมีขอเสนอใหมีการจัดตั้งคณะอนุกรรมการติดตามและกํากับการขจัด
              การตีตราและเลือกปฏิบัติตอผูที่อยูรวมกับเชื้อเอชไอวีและผูปวยเอดสภายใต คช.ปอ. ขึ้นเปนอีกกลไกหนึ่งในโครงสราง

              การขับเคลื่อนการตอบสนองตอปญหาเอดสของประเทศ และขอเสนอนี้ไดรับการบรรจุเขาไปเปนวาระการประชุม
              ของ คช.ปอ. ในขณะนั้นดวย 168

                     การดําเนินงานขององคกรในเครือขายของ กพอ. ถือเปนการดําเนินงานของภาคประชาสังคมที่มีความ
              เขมแข็งมาก โดยในขณะที่ฝายรัฐประกาศยุทธศาสตรปองกันและแกไขปญหาเอดสแหงชาติ พ.ศ. 2555-2559

              ในภาคประชาสังคมก็มีการประกาศวาระเอดสภาคประชาชน พ.ศ. 2555-2559 ขนานกันไป วาระเอดส
              ภาคประชาชนมีเปาหมาย 3 ประการ คือ 169

                     (1) เกิดการปฏิรูปสังคมและการเมืองที่นําไปสูการลดความเหลื่อมลํ้าและสรางความเปนธรรมดาน
              สุขภาพและลดปญหาเอดส

                     (2) การสรางความมั่นคงของระบบหลักประกันสุขภาพที่ประชาชนมีสวนรวมในการจัดการสุขภาพของ
              ชุมชนและตนเอง

                     (3) คนทุกคนบนผืนแผนดินไทยมีสุขภาวะ เขาถึงและไดรับบริการสุขภาพและสวัสดิการพื้นฐานที่จําเปน
              ในการดําเนินชีวิต บนพื้นฐานการจัดบริการที่เคารพศักดิ์ศรีความเปนมนุษย

                     โดยมีการกําหนดวาระ 3 ประการเชนเดียวกัน คือ
                     วาระที่ 1 การปฏิรูปสังคมและการเมืองเพื่อลดความเหลื่อมลํ้า สรางความเปนธรรม ลดปญหาเอดส

              มุงหนาสูความเปนรัฐสวัสดิการ สาระสําคัญ คือ การปฏิรูปกฎหมาย นโยบาย และระเบียบปฏิบัติใหสอดคลองกับ
              หลักสิทธิมนุษยชนและรัฐธรรมนูญ สงเสริมการนํานโยบายที่ดีที่มีอยูใหถูกนําไปใชปฏิบัติจริง เชน แนวปฏิบัติแหงชาติ








              167  คณะกรรมการองคการพัฒนาเอกชนดานเอดส [ออนไลน] retrieved from http://www.tncathai.org/aboutus.html
              168  คณะทํางานจับตานโยบายคณะกรรมการองคการพัฒนาเอกชนดานเอดส (กพอ.), รายงานการวิเคราะหนโยบายการตอบสนองตอปญหาเอดสของ
                ประเทศไทยในมุมมองของภาคประชาสังคม ฉบับป พ.ศ. 2552, (เชียงใหม: ดาราวรรณการพิมพ, 2552), คํานํา, หนา 17-18.
              169  คณะกรรมการองคการพัฒนาเอกชนดานเอดส (กพอ.) และเครือขายผูติดเชื้อเอชไอวี/เอดส (ประเทศไทย), วาระเอดสภาคประชาชน พ.ศ. 2555-2559
                แผนพับประชาสัมพันธ [online] retrived from http://www.tncathai.org/activity/act15.pdf
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98