Page 89 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 89

62  รายงานการศึกษาวิจัย
              การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี



                     สําหรับในยุทธศาสตรปองกันและแกไขปญหาเอดสแหงชาติ พ.ศ. 2555-2559 แมจะมีมาตรการเพื่อลด
              การตีตราและการเลือกปฏิบัติในกลุมผูติดเชื้อ แตอุปสรรคสําคัญอยูตรงที่การดําเนินงานขาดความตอเนื่อง

              ในปจจุบันมีเพียงกลไกคุมครองสิทธิระดับจังหวัด (สคช.) แตยังไมมีหนวยงานระดับพื้นที่ที่ทําหนาที่คุมครองสิทธิ
                                                                                        151
              โดยเฉพาะในชวงเวลาที่ภาครัฐบาลไมใหความสนใจกับปญหาเรื่องเอชไอวีเชนในปจจุบัน  ความทาทายในการ
              ดําเนินงานตามแผนปจจุบันมาจากระบบงบประมาณในปจจุบันไมเอื้อตอการเรงรัดการดําเนินงานปองกันได
              อยางจริงจังและตอเนื่อง งบประมาณในการดําเนินการสวนใหญเปนงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนโลกเพื่อตอสู

              โรคเอดส วัณโรค และมาลาเรีย (GFATM) ซึ่งมีการคาดการณวาหลังจากปงบประมาณ พ.ศ. 2557 ประเทศไทย
              มีโอกาสที่จะไดรับการสนับสนุนตอเนื่องนอยลง 152

                     ในปจจุบันกลไกที่มาจากภาคประชาสังคมในคณะกรรมการแหงชาติวาดวยการปองกันและแกไขปญหา
              เอดส จึงกลายเปนกลุมที่มีบทบาทสําคัญในการแกไขปญหาเพื่อคุมครองสิทธิเชื้อเอชไอวี และหนวยงานในภาค

              ประชาสังคมจึงกลายเปนดานหนาที่รับการรองเรียนเหลานี้ แทนที่จะเปนบทบาทของหนวยงานภาครัฐ 153
                     สําหรับการเคลื่อนไหวของหนวยภายใตที่มีภารกิจในเรื่องนี้ที่สําคัญ ไดแก กรมสวัสดิการและคุมครอง

              แรงงานซึ่งการเคลื่อนไหวเพื่อสงเสริมสิทธิในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวีในประเทศไทย เกิดขึ้นในราว
              ทศวรรษ 2540 โดยความรวมมือของกระทรวงแรงงาน โดยกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน องคการแรงงาน

              ระหวางประเทศ (International Labour Organization : ILO) องคกรนายจาง องคกรลูกจาง องคกรพัฒนา
              เอกชน และเครือขายผูติดเชื้อเอชไอวี หนวยราชการ และสถาบันการศึกษาที่เกี่ยวของซึ่งรวมกันพัฒนา

              “แนวปฏิบัติการปองกันและจัดการดานเอดสในสถานประกอบกิจการ” ที่ออกมาโดยกรมสวัสดิการและคุมครอง
              แรงงาน ในป พ.ศ. 2548 ซึ่งตอมา มีการปรับปรุงแกไขและประกาศใชอีกครั้งในป พ.ศ. 2555 154

                     แนวปฏิบัติฉบับนี้ มีวัตถุประสงค 4 ประการ คือ 155
                     1. เพื่อสงเสริมใหมีการรวมหารือและสรางความรวมมือระหวางหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ทั้งภาครัฐ

              นายจาง ลูกจาง ผูติดเชื้อเอชไอวี ผูปวยเอดส ผูปวยวัณโรค ผูไดรับผลกระทบ ผูนําชุมชน และองคกรพัฒนาเอกชน
              ในการแกไขและปองกันปญหาเอดสและวัณโรค

                     2. เพื่อใหสถานประกอบกิจการใชเปนแนวทางในการดําเนินงานปองกันและจัดการดานเอดสในสถาน
              ประกอบกิจการดวยความสมัครใจ (เนนโดยผูวิจัย)

                     3. เพื่อเปนเกณฑใหสถานประกอบกิจการใชในการตรวจสอบและประกาศแสดงตนเองวา เปนสถาน
              ประกอบกิจการที่ปฏิบัติสอดคลองกับมาตรฐานการบริหารจัดการเอดสและวัณโรคในสถานประกอบกิจการ

                     4. เพื่อใชเปนเกณฑพิจารณาใหการรับรองมาตรฐานการบริหารจัดการดานเอดสและวัณโรคในสถาน
              ประกอบกิจการ







              151  ผูอํานวยการศูนยอํานวยการบริหารจัดการปญหาเอดสแหงชาติ, สัมภาษณ, 18 เมษายน 2556
              152  คณะกรรมการแหงชาติวาดวยการปองกันและแกไขปญหาเอดส, ยุทธศาสตรปองกันและแกไขปญหาเอดสแหงชาติ พ.ศ.2555-2559, หนา 3-4.
              153  จากการสอบถามเจาหนาที่กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน พบวา ในสายดวนแรงงาน ไมคอยมีการรองเรียนเรื่องเกี่ยวกับผูติดเชื้อเอชไอวี แตเปนการ
                รองเรียนเรื่องสวัสดิการทั่วไปของแรงงานมากกวา (เจาหนาที่กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน, สัมภาษณ, 26 กุมภาพันธ 2556)
              154  โดยทั่วไป สาระสําคัญของประกาศไมตางจากเดิมมากนัก สวนที่แตกตางจากประกาศฉบับเดิมคือ การผนวกเรื่องผูติดเชื้อวัณโรคเขาไปดวย และมีการเพิ่มเติม
                ในวัตถุประสงคขอ 3
              155  ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง แนวทางการปองกันและบริหารจัดการดานเอดสและวัณโรคในสถานประกอบการ 25 กรกฎาคม 2555
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94