Page 97 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 97

70  รายงานการศึกษาวิจัย
              การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี



                                                                                           172
              ผูติดเชื้อเหมือนกับการรณรงคเพื่อปองกันการแพรระบาดของเชื้อเอชไอวีในทศวรรษกอน ๆ  ในสภาวะองคกร
              ลูกจางไมไดมีความสนใจและขาดพลังในการผลักดันประเด็น อํานาจการตัดสินใจกลายเปนเรื่องของนายจางที่ให

              ความสนใจกับความคุมทุนในการจางงาน มาตรฐาน ASO Thailand จึงไมคอยมีอิทธิพลตอการสงเสริมใหมีการ
              คุมครองสิทธิในวงกวาง นอกจากนี้ พบวา หนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของในการสงเสริมการคุมครองสิทธิในการ

              ประกอบอาชีพของผูติดเชื้อ โดยเฉพาะในระดับปฏิบัติ ในบางหนวยงานก็ไมมีความรู ความเขาใจในเรื่องโรคเอดส
                                                                                            173
              และเชื้อเอชไอวีอยางเพียงพอ จึงไมสามารถคุมครองสิทธิในการประกอบของผูติดเชื้อเอชไอวีได  ประกอบกับการ
              ไมใหความสําคัญตอมิติการทํางานแบบไตรภาคี (tripartite action) หรือแมกระทั่งการสงเสริมการเจรจาเชิงสังคม
              (social dialogue) ของผูมีสวนไดสวนเสียอยางตอเนื่อง ทําใหมาตรการการสงเสริมการคุมครองสิทธิในการ

              ประกอบอาชีพของผูติดเชื้อขาดทิศทางและความชัดเจน และไมเปนไปตามแนวปฏิบัติฯ ที่ไดประกาศไว
                     ปญหาการละเมิดสิทธิของผูติดเชื้อในภาคราชการ กลายเปนสวนที่แกไขไดยากที่สุด ไมวาจะเปนกรณี

              ตํารวจชั้นประทวนหรือผูชวยผูพิพากษาก็ตาม เพราะเปนกลไกที่แข็งตัว ไมคอยยอมรับความเปลี่ยนแปลง แมจะมี
              ความพยายามในการทําความเขาใจจากคนกลางอยางคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติก็ตาม ในกรณีของ

              หนวยงานราชการ สํานักงานอัยการสูงสุด จึงเปนตัวอยางเดียวที่มีความเขาใจมากพอ และยกเลิกการบังคับตรวจ
              หาเชื้อเอชไอวีในการสอบอัยการผูชวย

                     สําหรับในภาคเอกชน ขอมูลจากกรณีศึกษาทั้งในสวนกลางและในระดับพื้นที่ พบวา การเลือกปฏิบัติ
              ในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อในหลายกรณี เกิดจากการขาดความรูความเขาใจทั้งในเรื่องการแพรระบาดของ

              เชื้อเอชไอวีและสิทธิของผูติดเชื้อ ในบางกรณี เมื่อมีการสรางเจรจาเพื่อความเขาใจรวมกัน ระหวาง 3 สวน คือ
              นายจาง คนกลาง อยางเชน คณะอนุกรรมการคุมครองสิทธิ ภายใต คช.ปอ. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ

              เครือขายภาคประชาสังคมในพื้นที่ที่มีความรูความเขาใจมากพอ และตัวผูติดเชื้อเอชไอวี ก็ทําใหสามารถแกไข
              ปญหาการละเมิดสิทธิของผูติดเชื้อได ในบางกรณีที่เปนองคกรขนาดใหญ การแกปญหาดังกลาว อาจรวมไปถึงการ

              ปรับเปลี่ยนนโยบายในการจางงานที่มีผลในวงกวาง แตโดยทั่วไป การแกปญหาที่เกิดขึ้นมักเกิดผลในรายกรณี
              มากกวา และในกรณีที่ไมสามารถแกไขปญหาดวยเจรจาได การฟองรองคดีตอศาลกลายเปนเพียงมาตรการเดียว

              ที่จะสรางบรรทัดฐานในอนาคตสําหรับผูประกอบการ แตการฟองรองตอศาลก็มีขอจํากัดที่ตองใชระยะเวลานาน
              ทั้งสําหรับผูติดเชื้อและกลไกสนับสนุนผูติดเชื้อเอชไอวีดวย

                     การดําเนินงานเพื่อสงเสริมการคุมครองสิทธิของผูติดเชื้อ ทั้งสิทธิในการประกอบอาชีพและสิทธิมนุษยชน
              ดานอื่น ๆ ในลักษณะนี้ จึงจําเปนตองไดรับการยอมรับ รวมถึงอุดหนุนทรัพยากรในการดําเนินงานเพื่อสงเสริมให

              ตัวผูติดเชื้อและคนกลางที่มีพลังในการรณรงคสรางความรูความเขาใจในวงกวาง











              172  สาวิทย แกวหวาน อดีตเลขาธิการสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ  ไดยอมรับวา ในชวงปจจุบัน ขบวนการแรงงานไมคอยใหความสนใจกับปญหาเรื่อง
                เอชไอวีมากนัก จึงไมมีความเคลื่อนไหวจากขบวนการแรงงงานในเรื่องดังกลาว (การสนทนากลุมเจาหนาที่ของรัฐ เอกชนและองคกรพัฒนาเอกชนที่ทํางาน
                เกี่ยวของกับผูติดเชื้อเอชไอวี 1 มีนาคม 2556) ซึ่งสอดคลองกับขอสังเกตที่ไดจากการสนทนากลุมลูกจางในสถานประกอบการ ตัวแทนสหภาพแรงงาน
               8 มีนาคม 2556
              173  ขอสังเกตจากผูอํานวยการมูลนิธิศูนยคุมครองสิทธิดานเอดส การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อรับฟงความคิดเห็นตอผลการศึกษา, 16 พฤศจิกายน 2556
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102