Page 91 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 91

64  รายงานการศึกษาวิจัย
              การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี



              ไปสืบคนขอมูลสถานประกอบการที่ไดรับมาตรฐาน ASO Thailand พบวา สถานประกอบการธุรกิจอาหาร และ
                                                                                        161
              บริการจํานวนมากที่ผานการประเมินมาตรฐาน ASO ในการจัดสนทนากลุมผูประกอบการ  ผูวิจัยจึงเชิญตัวแทน
              ผูประกอบการในกิจการประเภทนี้มารวมสนทนากลุม เพื่อทําความเขาใจถึงมุมมองหรือมาตรการที่ผูประกอบการ
              ใชในสถานประกอบการที่ไมมีการเลือกปฏิบัติตอผูติดเชื้อ ซึ่งพบวา ในกิจการประเภทอาหาร โดยทั่วไป มีการ

              ปฏิบัติที่ดีในการผลิตอาหาร (Good Manufacturing Practices: GMP) ควบคุมอยู จึงไมจําเปนที่จะตองเลือก
              ปฏิบัติตั้งแตการรับสมัครเขาทํางาน เชนเดียวกับในธุรกิจสถานพยาบาล ที่มีหลักการปองกันสองชั้น (Double

                         162
              Prevention)  เปนมาตรการสําคัญเพื่อการควบคุมการแพรระบาดของโรคอยูแลว จึงไมจําเปนตองตรวจเลือด
              กอนเขาทํางาน



              4.2 การดําเนินงานเพื่อคุมครองสิทธิในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี

                     สําหรับการสํารวจกลไกดําเนินงานเพื่อคุมครองสิทธิในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวีในสวนนี้

              จะเริ่มตั้งแตหนวยงานตนทาง คือ หนวยงานรับเรื่องรองเรียน ไปจนถึงหนวยงานที่มีสวนในการแกไขปญหา
              เพื่อคุมครองสิทธิของผูติดเชื้อ สําหรับหนวยงานที่ทําหนาที่คุมครองสิทธิในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี

              มีดังนี้
                     หนวยงานภาครัฐที่รับเรื่องรองเรียนเกี่ยวกับการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อ ประกอบดวย

                     -    สายดวนผูใชแรงงาน 1546 ของกระทรวงแรงงาน
                     -    สํานักงานคุมครองสิทธิและชวยเหลือทางกฎหมายแกประชาชน (สคช.) สํานักงานอัยการสูงสุด

              เปนหนวยงานที่ทําหนาที่คุมครองสิทธิและใหความชวยเหลือทางกฎหมายแกประชาชน มีสํานักงานอยูทั้งในสวน
              กลางและสวนภูมิภาค ในสวนกลาง ประกอบดวย สํานักงาน 9 แหงในกรุงเทพมหานคร สวนในภูมิภาค มีสํานักงาน

              คุมครองสิทธิและชวยเหลือทางกฎหมายแกประชาชนประจําจังหวัด (สคช.จังหวัด) ตั้งอยูที่สํานักงานอัยการจังหวัด
              จํานวน 75 แหง และสํานักงานคุมครองสิทธิและชวยเหลือทางกฎหมายแกประชาชน ประจําจังหวัดสาขา (ตั้งอยูที่

              สํานักงานอัยการจังหวัดประจําอําเภอ จํานวน 30 แหง สคช. มีหนาที่สําคัญในการเผยแพรความรูและใหคําปรึกษา
              คําปรึกษาปญหากฎหมายแกประชาชน จัดหาทนายความชวยเหลือในทางอรรถคดีแกประชาชนผูยากจนและ

              ไมไดรับความเปนธรรม ตลอดจนงานการประนอมขอพิพาท
                     -    คณะกรรมการแหงชาติวาดวยการปองกันและแกไขปญหาเอดส (คช.ปอ.) และศูนยอํานวยการ

              บริหารจัดการปญหาเอดสแหงชาติ (ศบ.จอ.) โดยเฉพาะคณะอนุกรรมการระดับประเทศดานการสงเสริมและ
              คุมครองสิทธิดานเอดส ขอมูลที่สําคัญมักจะไดมาจากการรับเรื่องรองเรียนขององคกรเครือขายในภาคประชาสังคม

              อีกตอหนึ่ง
                     อันที่จริง นอกจากหนวยงานเหลานี้แลว ยังมีกรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม ที่มีภารกิจ

              ดานการสงเสริมสิทธิและเสรีภาพ การคุมครองสิทธิและเสรีภาพ และการสรางหลักประกันตามหลักการ
              สิทธิมนุษยชนสากล อยางไรก็ดี จากการดําเนินงานที่ผานมาแมจะมีการดําเนินงานเพื่อสงเสริมสิทธิและเสรีภาพของ

              ประชาชน แตการดําเนินงานของกรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพใหความสําคัญกับการคุมครองสิทธิในกระบวนการ



              161  การสนทนากลุม กลุมนายจาง /เจาของสถานประกอบการ 14 มีนาคม 2556
              162  เจาหนาที่จากโรงพยาบาลแหงหนึ่งที่ไดรับมาตรฐาน ASO Thailand, การสนทนากลุมผูประกอบการ, 14 มีนาคม 2556
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96