Page 39 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผู้ติดเชื้อเอชไอวี
P. 39

12  รายงานการศึกษาวิจัย
              การเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี



              2.1 หลักการและมาตรฐานสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนของกลุมผูติดเชื้อเอชไอวี ศึกษากรณีสิทธิมนุษยชน
                   ในการประกอบอาชีพ
                     2.1.1  หลักความเสมอภาคและการไมเลือกปฏิบัติ ภายใตกรอบกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหวาง

              ประเทศ
                            แมวาความพยายามในการปองกันปญหาการแพรระบาดของเชื้อเอชไอวีไดมีความกาวหนา

              อยางมาก ดังจะเห็นไดจากสถิติจํานวนผูติดเชื้อเอชไอวีรายใหมทั่วโลกลดลงอยางตอเนื่อง ในทางกลับกัน จํานวน
              ผูที่อยูรวมกับเชื้อเอชไอวีทั่วโลกยังคงอยูในอัตราที่สูงถึง 34 ลานคน ซึ่งในจํานวนดังกลาวเปนกลุมบุคคลที่อยูใน

                                11
              กําลังแรงงานถึง 88%  การที่มีจํานวนผูติดเชื้อเอชไอวีซึ่งอยูในวัยทํางานสูงนั้นสงผลใหเกิดความทาทายตอรัฐและ
              ภาคการผลิต (ทั้งในและนอกระบบ) ตอการแกไขปญหาในทุกมิติเปนอยางมาก กอปรกับสาธารณชนสวนใหญ

              ยังขาดความรูความเขาใจและความตระหนักในปญหาการแพรระบาดของเชื้อเอชไอวี ถือเปนปจจัยสําคัญในการ
              สรางความกลัวและอคติของสาธารณะตอผูติดเชื้อเอชไอวี ซึ่งกอใหเกิดการตั้งขอรังเกียจ การกีดกันทางสังคมและ

              การเลือกปฏิบัติ อันเปนที่มาของปญหาความไมเสมอภาคเทาเทียมและการละเมิดสิทธิมนุษยชนตอกลุมบุคคล
              ดังกลาว

                            ปญหาการเลือกปฏิบัติ รวมตลอดถึงการเลือกปฏิบัติในการประกอบอาชีพของผูติดเชื้อเอชไอวี
              กอใหเกิดผลกระทบตอการดํารงชีวิตและการทํางานอยางมีคุณคาตอกลุมบุคคลดังกลาว นอกจากนี้ ยังเปนอุปสรรค

              ตอการพัฒนาที่ยั่งยืน เนื่องจากแรงงานที่เปนผูติดเชื้อเอชไอวีจํานวนมากอาจตองจบอาชีพลงจากการสูญเสียงาน
              เลือกปฏิบัติ และอคติจากนายจางและเพื่อนรวมงาน ในขณะที่รัฐบาลและสถานประกอบการมีความไมมั่นคง

              เนื่องจากตองสูญเสียแรงงานในการพัฒนาธุรกิจและประเทศ ดวยเหตุดังกลาว รัฐและองคการระหวางประเทศ
              จึงจําเปนตองใหความสําคัญตอการแกไขปญหาการแพรระบาดของเชื้อเอชไอวี ที่ตั้งอยูบนพื้นฐานแหงสิทธิมนุษยชน

              (Human based) ที่ใหความสําคัญตอหลักความเสมอภาคและการไมเลือกปฏิบัติตอผูติดเชื้อเอชไอวี หรือที่เชื่อวา
              เปนกลุมเสี่ยงตอการเปนผูติดเชื้อเอชไอวี เชน กลุมชายรักชาย ผูประกอบอาชีพใหบริการทางเพศ หรือผูที่ติดยาเสพติด

              โดยใชเข็มฉีดยา
                            โดยทั่วไปหลักความเสมอภาคนั้น ถือเปนหลักการพื้นฐานของระบอบประชาธิปไตย ความเสมอภาค

              แบงไดเปน ความเสมอภาคทางกฎหมาย (juridical equality) และความเสมอภาคเชิงเนื้อหา (substantive
              equality)

                            ความเสมอภาคทางกฎหมาย หมายถึง แนวคิดที่มองวาบุคคลในสถานการณเดียวกันหรือที่เหมือนกัน
              ควรไดรับการปฏิบัติเชนเดียวกัน แนวคิดดังกลาวมองวากฎหมายหรือการปฏิบัติใดที่มีวัตถุประสงคในการปฏิบัติ

              ตอบุคคลในสถานการณที่เหมือนกันโดยแตกตาง จะสงผลตอการเลือกปฏิบัติโดยตรง (direct discrimination)
              สําหรับแนวคิดนี้ไมไดใหความสําคัญกับปจจัยเชิงโครงสรางตาง ๆ ที่ทําใหบุคคลมีความแตกตางกัน ดังนั้น เมื่อความ

              แตกตางไมไดถูกนํามาพิจารณา การปฏิบัติตาง ๆ มักจะไมไดคํานึงถึงจุดมุงหมายของความเสมอภาคในความหมาย
              อยางกวาง






              11  ป 2554 มีผูติดเชื้อเอชไอวีรายใหม จํานวน 2.5 ลานคนทั่วโลก ลดลงจากป 2544 ถึง 20 %, Global Report: UNAIDS Report on the Global
                AIDS Epidemics 2012,  Geneva: UNAIDS, หนา 8
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44