Page 98 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 98

รายงานการศึกษาวิจัย  83
                                        เรื่อง ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว





                                  ประเด็นที่สอง การที่ผูประกอบธุรกิจติดตอหรือสงขอความเพื่อขายสินคาหรือบริการ
               แกบุคคลอันกอใหเกิดความเดือดรอนรําคาญ โดยไดรับขอมูลสวนตัวของบุคคล เชน ที่อยู เบอรโทรศัพท
               จากผูประกอบธุรกิจรายอื่นตามกรณีศึกษา เปนการแทรกแซงสิทธิในความเปนอยูสวนตัวอันเปนการละเมิด

               สิทธิมนุษยชนของบุคคลอื่นหรือไม

                           3)   แนวทางการพิจารณา
                                  ประเด็นที่หนึ่ง ขอมูลเกี่ยวกับเบอรโทรศัพท ที่อยูอาศัยของบุคคลหนึ่งมีลักษณะเปนขอมูล
               สวนบุคคลอันเกี่ยวดวยสิทธิในความเปนอยูสวนตัวหรือไม

                                  ในบริบทของกฎหมายและขอตกลงระหวางประเทศ ขอมูลเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลของ

               บุคคลหนึ่งยอมเปนขอมูลที่เกี่ยวดวยสิทธิในความเปนอยูสวนตัวเกี่ยวกับขอมูลสวนบุคคลและที่พักอาศัย
               ในลักษณะที่เปนศักดิ์ศรีความเปนมนุษย ตามนัยแหงสิทธิในความเปนอยูสวนตัวที่ไดรับการรับรองและคุมครองไว
               โดยชัดแจงในขอ 12 แหงปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน และขอ 8 วรรคหนึ่ง ของอนุสัญญาแหงยุโรปวาดวย

               การคุมครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐานดังที่ไดกลาวแลวขางตน กลาวอีกนัยหนึ่ง ขอมูลดังกลาวยอม

               เกี่ยวดวยสิทธิในความเปนอยูสวนตัวในสวนที่เกี่ยวกับขอมูลสวนบุคคลและที่พักอาศัยของบุคคลที่เกี่ยวของกับ
               ขอมูลนั้นนั่นเอง
                                  ในบริบทของกฎหมายของประเทศไทย ขอมูลเกี่ยวกับเบอรโทรศัพทและที่อยูอาศัยของ

               บุคคลยอมอยูในขอบเขตแหงสิทธิในความเปนอยูสวนตัว ซึ่งไดรับความคุมครองตามบทบัญญัติมาตรา 4 และ

               มาตรา 35 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ในอันที่บุคคลใดจะลวงละเมิดโดยมิชอบ
               ดวยกฎหมายมิได โดยนัยดังกลาว สิทธิในความเปนอยูสวนตัวยอมตกอยูในความหมายของคําวา “สิทธิมนุษยชน”
               ตามนัยที่ไดบัญญัติไวในมาตรา 3 แหงพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542

                                  ประเด็นที่สอง การที่ผูประกอบธุรกิจติดตอหรือสงขอความเพื่อขายสินคาหรือบริการ

               แกบุคคลอันกอใหเกิดความเดือดรอนรําคาญ โดยไดรับขอมูลสวนตัวของบุคคล เชน ที่อยู เบอรโทรศัพท
               จากผูประกอบธุรกิจรายอื่นตามกรณีศึกษา เปนการแทรกแซงสิทธิในความเปนอยูสวนตัวอันเปนการละเมิด
               สิทธิมนุษยชนของบุคคลอื่นหรือไม

                               ในปจจุบัน นอกจากรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยแลว ยังไมปรากฏวามีกฎหมายอื่น

               ที่มีบทบัญญัติใดที่บัญญัติคุมครองผูถูกรบกวนสิทธิในความเปนอยูสวนตัวจากการดําเนินการดังกลาวไวเปนการ
               เฉพาะแตอยางใด ซึ่งแตกตางจากกฎหมายของตางประเทศ เชน สหรัฐอเมริกา ที่ไดบัญญัติหลักการสําคัญ ๆ
               ที่เกี่ยวกับการคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัวของผูที่ถูกรบกวนจากการขายตรงทางโทรศัพทมาบัญญัติไว

               ในกฎหมายหลายฉบับ เชน 91

                                  -  ประมวลกฎหมายสหรัฐ (United States Code : USC) ซึ่งไดกําหนดหลักการ
               ที่สําคัญไวใน มาตรา 277 ซึ่งมีสาระสําคัญเกี่ยวกับการรบกวนทางโทรศัพท โทรเลข และวิทยุโทรเลข และ
               มาตรา 6102 ซึ่งมีสาระสําคัญเกี่ยวกับการตลาดทางไกล



               91  รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง มาตรการทางกฎหมายในการคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว: ศึกษากรณีการรบกวนสิทธิ
                 ในความเปนอยูสวนตัวโดยธุรกิจขายตรง โดย ผศ. คณาธิป ทองรวีวงศ ขอมูลจาก http://apheitconference.spu.ac.th/
                attachments/article/7/39_18-1.pdf
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103