Page 101 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 101

86     รายงานการศึกษาวิจัย
                 เรื่อง  ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว





                       4.2.6   กรณีการปดปายโฆษณาบนหนาตางรถโดยสารประจําทาง ตูรถไฟ หรือตูรถไฟฟา
              อันเปนการบดบังทัศนียภาพภายนอก
                             1)   ขอเท็จจริง

                                 ผูประกอบกิจการขนสงรถโดยสารประจําทาง รถไฟ หรือรถไฟฟา ปดปายโฆษณา

              บนหนาตางรถโดยสารประจําทาง ตูรถไฟ หรือตูรถไฟฟา ไมวาจะเปนการดําเนินการโดยตนเองหรืออนุญาต
              ใหผูประกอบกิจการโฆษณาเปนผูดําเนินการก็ตาม อันเปนการบดบังทัศนียภาพภายนอกแกผูโดยสารที่อยูภายใน
              รถโดยสารหรือรถไฟฟา

                             2)   ประเด็นปญหาทางกฎหมาย

                                 ประเด็นที่หนึ่ง การมองเห็นทัศนียภาพภายนอกรถโดยสารในระหวางการเดินทาง
              มีลักษณะเปนสิทธิของบุคคลอันเกี่ยวดวยสิทธิในความเปนอยูสวนตัวหรือไม
                                 ประเด็นที่สอง การที่ผูประกอบกิจการขนสงปดปายโฆษณาบนหนาตางรถโดยสาร

              ประจําทาง บนหนาตางตูรถไฟหรือตูรถไฟฟา อันเปนการบดบังทัศนียภาพภายนอก เปนการแทรกแซงสิทธิ

              ในความเปนอยูสวนตัวอันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนของผูโดยสารหรือไม
                             3)   แนวทางการพิจารณา
                                 ประเด็นที่หนึ่ง การมองเห็นทัศนียภาพภายนอกรถโดยสารในระหวางการเดินทาง

              มีลักษณะเปนสิทธิของบุคคลอันเกี่ยวดวยสิทธิในความเปนอยูสวนตัวหรือไม

                                 บุคคลนอกจากจะมีสิทธิเสรีภาพในการเดินทางโดยสงบหรือปราศจากเสียงรบกวน
              ดังกลาวขางตนแลว ยังมีสิทธิเสรีภาพที่จะมองเห็นทัศนียภาพภายนอกรถโดยสารในระหวางการเดินทางอีกดวย
              การทําหนาตางของรถโดยสารขึ้นก็เพื่อใหเกิดแสงสวางภายในรถโดยสาร อีกทั้งเพื่อความปลอดภัยในชีวิตรางกาย

              ของผูโดยสาร ในกรณีที่ผูโดยสารมองเห็นวามีเหตุอันตรายหรืออุบัติภัยใด ๆ เกิดขึ้นภายนอก หรือในทางกลับกัน

              ในกรณีที่มีเหตุอันตรายเกิดขึ้นภายในรถโดยสาร เพื่อที่บุคคลภายนอกจะไดสังเกตเห็นและใหความชวยเหลือ
              แกผูโดยสารไดทันทวงที การมองเห็นทัศนีภาพภายนอกรถโดยสารในระหวางการเดินทางจึงเปนสิทธิเสรีภาพ
              ของบุคคลอันเกี่ยวดวยสิทธิในความเปนอยูสวนตัวของบุคคลเกี่ยวกับชีวิตรางกาย ในลักษณะที่เปนศักดิ์ศรี

              ความเปนมนุษย และจะตองไดรับการคุมครองตามนัยแหงสิทธิในความเปนอยูสวนตัว ตามขอ 12 แหงปฏิญญา

              สากลวาดวยสิทธิมนุษยชน และขอ 8 วรรคหนึ่ง ของอนุสัญญาแหงยุโรปวาดวยการคุมครองสิทธิมนุษยชนและ
              เสรีภาพขั้นพื้นฐาน
                               โดยนัยดังกลาว สิทธิเสรีภาพของบุคคลที่จะมองเห็นทัศนียภาพภายนอกในระหวาง

              การเดินทางบนรถโดยสารประจําทาง รถไฟ หรือรถไฟฟา ยอมอยูในขอบเขตแหงสิทธิในความเปนอยูสวนตัว

              ซึ่งไดรับความคุมครองตามบทบัญญัติมาตรา 4 และมาตรา 35 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
              2550 ในอันที่บุคคลใดจะลวงละเมิดโดยมิชอบดวยกฎหมายมิได โดยนัยดังกลาว สิทธิในความเปนอยูสวนตัว
              ยอมตกอยูในความหมายของคําวา “สิทธิมนุษยชน” ตามนัยที่ไดบัญญัติไวในมาตรา 3 แหงพระราชบัญญัติ

              คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542
   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106