Page 103 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 103

88     รายงานการศึกษาวิจัย
                 เรื่อง  ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว





              และตองถือวาผูใหบริการรถโดยสารสาธารณะที่ไมมีหนาตางปฏิบัติตอผูโดยสารเยี่ยงวัตถุซึ่งเปนการละเมิด
              ศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของผูโดยสาร ดังนั้น ผูถูกฟองคดีจึงตองมีหนาที่ที่จะตองจัดใหตูรถโดยสารของขบวนรถไฟ
              ทุกขบวนมีหนาตางและดูแลรักษาหนาตางตูรถโดยสารทุกคันใหอยูสภาพที่สามารถใชการไดสมวัตถุประสงค

              ของการจัดใหมีหนาตาง การที่ผูถูกฟองคดีทําสัญญาเชาติดตั้งปายโฆษณาที่กระจกหนาตางรถโดยสารไดดวย

              จึงเปนการใชหนาตางรถโดยสารแสวงหารายได จนทําใหผูโดยสารไมอาจใชประโยชนจากหนาตางรถโดยสาร
              ตามวัตถุประสงคของการจัดใหมีหนาตางไดตามที่ควรจะเปน ถือเปนการละเลยตอหนาที่ในการจัดทํากิจการ
              รับขนสงผูโดยสารซึ่งเปนการบริการสาธารณะตามที่กฎหมายกําหนดใหตองปฏิบัติ ศาลพิพากษาใหผูถูกฟองคดี

              ดําเนินการขูดลอกแผนปายโฆษณาออกจากกระจกหนาตางตูรถโดยสารและทําความสะอาดกระจกหนาตาง

              ตูรถโดยสารรถไฟทุกคันใหแลวเสร็จภายในสามสิบวันนับแตวันที่ศาลมีคําพิพากษา
                            4)   สรุป
                                    การที่ผูประกอบกิจการขนสงปดปายโฆษณาบนหนาตางรถโดยสารประจําทาง บนหนาตาง

              ตูรถไฟหรือตูรถไฟฟาอันเปนการบดบังทัศนียภาพภายนอกตามกรณีศึกษา เปนการแทรกแซงสิทธิในความเปนอยู

              สวนตัวอันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนของผูโดยสาร
                      4.2.7   กรณีการถายภาพของผูอื่นโดยผูที่ถูกถายภาพนั้นไมไดใหความยินยอมและนําไปพิมพเผยแพร
                            1)   ขอเท็จจริง

                                 กรณีสื่อมวลชนถายภาพผูที่ไดรับความเสียหายในคดีลวงละเมิดทางเพศ หรือใชกลอง

              ที่มีเลนสซูมภาพบุคคลอื่นใหเห็นใบหนาของบุคคลนั้นในระยะใกลชิด แลวนําไปตีพิมพเผยแพรในสื่อสิ่งพิมพ
              หรือกรณีบุคคลคอยติดตามถายภาพบุคคลอื่นในลักษณะคุกคาม (ปาปาราซี) โดยบุคคลผูถูกถายภาพนั้นไมได
              ใหความยินยอม ซึ่งการกระทําดังกลาวยอมกอใหเกิดความเสียหายแกผูเสียหายในคดีลวงละเมิดทางเพศ

              หรือกอใหเกิดความเดือดรอนรําคาญแกผูถูกถายภาพ และอาจกอใหเกิดความไมปลอดภัยแกชีวิตรางกายของ

              ผูถูกถายภาพนั้นอีกดวย
                            2)   ประเด็นปญหาทางกฎหมาย
                                ประเด็นที่หนึ่ง การถายภาพของบุคคลมีลักษณะเปนสิทธิของบุคคลอันเกี่ยวดวยสิทธิ

              ในความเปนอยูสวนตัวหรือไม

                                ประเด็นที่สอง การที่สื่อมวลชนถายภาพผูเสียหายในคดีลวงละเมิดทางเพศแลวนําไป
              ตีพิมพในสื่อสิ่งพิมพ หรือการที่บุคคลติดตามถายภาพบุคคลอื่นในลักษณะคุกคามโดยบุคคลผูถูกถายภาพนั้น
              ไมไดใหความยินยอม  เปนการแทรกแซงสิทธิในความเปนอยูสวนตัวของ  ผูถูกถายภาพนั้น อันเปนการละเมิด

              สิทธิมนุษยชนของบุคคลนั้นหรือไม

                            3)   แนวทางการพิจารณา
                                ประเด็นที่หนึ่ง การถายภาพของบุคคลมีลักษณะเปนสิทธิของบุคคลอันเกี่ยวดวยสิทธิ
              ในความเปนอยูสวนตัวหรือไม

                                ภาพถายของบุคคลยอมเปนขอมูลอันเกี่ยวดวยสิทธิในความเปนอยูสวนตัวเกี่ยวกับขอมูล

              สวนบุคคลหรือสิทธิในเนื้อตัวรางกายของบุคคล ในลักษณะที่เกี่ยวดวยศักดิ์ศรีความเปนมนุษยเชนกัน จึงตองไดรับ
              การคุมครองตามนัยแหงสิทธิในความเปนอยูสวนตัวตาม ขอ 12 แหงปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน และขอ 8
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108