Page 96 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 96

รายงานการศึกษาวิจัย  81
                                        เรื่อง ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว





               ความไวเปนหลักฐานแลว ผูปวยจึงยื่นฟองตอศาลปกครองกลางในประเด็นการกระทําของเจาหนาที่ของรัฐทําให
               ผูปวยไมไดรับรูขอมูลในเวชระเบียนของผูปวย อันถือเปนการกระทําละเมิดในทางปกครอง ซึ่งศาลปกครองกลาง
               ไดพิจารณาแลวมีคําวินิจฉัยวา “โรงพยาบาลซึ่งเปนหนวยงานของรัฐ นอกจากเอกสารเวชระเบียนจะเปนเอกสาร

               ที่โรงพยาบาลจัดทําขึ้นและอยูในความครอบครองหรือควบคุมดูแลเพื่อประโยชนในทางการแพทย รวมทั้งใชเปน

               ขอมูลในการวินิจฉัยและรักษาผูปวยตอไป หรือใชเพื่อการศึกษาวิจัยแลว เวชระเบียนยังเปนเอกสารที่ไดบันทึกขอมูล
               เกี่ยวกับสิ่งเฉพาะตัวของผูปวยเกี่ยวกับประวัติสุขภาพ จึงเปนขอมูลขาวสารราชการในลักษณะขอมูลขาวสาร
               สวนบุคคลสําหรับผูปวย และถือเปนสิทธิขั้นพื้นฐานที่ไดรับการรับรองและคุมครองตามรัฐธรรมนูญ การที่

               โรงพยาบาลไดแจงความวาเอกสารเวชระเบียนสูญหาย แตในทางคดีไมปรากฏ

                                  ขอเท็จจริงหรือพยานหลักฐานอื่นใดที่พอฟงไดวา เวชระเบียนไดสูญหายไปจากความ
               ครอบครองของโรงพยาบาล หรือโรงพยาบาลปกปดซอนเรนไว โรงพยาบาลยอมไมอาจยกเอาความสูญหาย
               ของเวชระเบียนขึ้นกลาวอางวาเกิดจากบุคคลอื่นเพื่อบอกปดความรับผิดของตนเองได จึงถือเปนการละเลย

               ตอหนาที่ตามที่กฎหมายกําหนดใหตองปฏิบัติ...” 89

                                  นอกจากนี้ คณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการยังไดเคยทําคําวินิจฉัยที่เกี่ยวของ
               กับประเด็นปญหาดังกลาวในทํานองเดียวกันกับแนวคําพิพากษาของศาลปกครองกลาง ไดแก คําวินิจฉัย
               ที่ สค 152/2552 วินิจฉัยไว สรุปความไดวาขอมูลขาวสารที่มีการรองขอนั้นเปนขอมูลขาวสารสวนบุคคลของ

               บุตรชายผูรองขอ และเมื่อบุตรชายของผูรองขอถึงแกกรรมโดยมิไดทําพินัยกรรมไว ผูรองขอซึ่งเปนบิดาไดใชสิทธิ

               ขอขอมูลขาวสารเกี่ยวกับเวชระเบียนและประวัติการรักษาพยาบาลไดตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2541)
               ออกตามความในพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ได คณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูล
               ขาวสารพิจารณาโดยคํานึงถึงสิทธิการเขาถึงขอมูลขาวสารสวนบุคคลและความโปรงใสในการปฏิบัติราชการ

               จึงวินิจฉัยใหเปดเผยขอมูลขาวสารตามคําขอ

                                  ดังนั้น ขอมูลเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลของบุตรที่เสียชีวิตไปนั้นจึงเปนขอมูลที่เกี่ยวดวย
               สิทธิในความเปนอยูสวนตัวเกี่ยวกับขอมูลสวนบุคคล
                                  ประเด็นที่สอง การที่บิดาของบุตรที่เสียชีวิตขอขอมูลเวชระเบียนของบุตร ตลอดจน

               เอกสารตาง ๆ เกี่ยวกับการรักษาพยาบาลบุตรของตนที่เสียชีวิตนั้น เพื่อนําไปใชประกอบการเรียกรองคาเสียหาย

               ตามกรณีศึกษา เปนการแทรกแซงสิทธิในความเปนสวนตัวอันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนของบุตรของตนหรือไม
                                  เมื่อขอมูลเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลของบุตรที่เสียชีวิตไปตามกรณีศึกษาเปนขอมูล
               ที่เกี่ยวดวยสิทธิในความเปนอยูสวนตัวเกี่ยวกับขอมูลสวนบุคคลของบุตรนั้น ซึ่งจะตองไดรับการคุมครอง

               ตามกฎหมาย จึงกอใหเกิดหนาที่หรือความผูกพันของบุคคลอื่นที่จะตองไมกระทําการเปดเผยขอมูลดังกลาว

               โดยมิไดรับความยินยอมของบุตรที่เสียชีวิตไปซึ่งเปนเจาของขอมูลดังกลาวโดยชัดแจงแตอยางใด








               89  คดีปกครอง ระหวาง น.ส.ศิริรัตน จั่นเพชร  ผูฟองคดี โรงพยาบาลศิริราช มหาวิทยาลัยมหิดล ผูถูกฟองคดี อางอิงจาก http://
                news.thaipbs.or.th/content
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101