Page 97 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 97

82     รายงานการศึกษาวิจัย
                 เรื่อง  ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว





                                 แมวาโดยหลักแลว การเปดเผยขอมูลดังกลาวแกบุคคลอื่นที่มิใชเจาของขอมูลนั้น
              จะเปนการแทรกแซงสิทธิในความเปนอยูสวนตัวอันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนของบุตรที่เสียชีวิตไปนั้น และบุตรนั้น
              จะยังคงไดรับความคุมครองสิทธิมนุษยชนอยูแมวาจะเสียชีวิตไปแลวก็ตาม  แตขอเท็จจริงตามกรณีศึกษา บิดาของ

              บุตรที่เสียชีวิตไปเปนผูขอขอมูลเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลของบุตรของตน ในฐานะผูแทนโดยชอบธรรมของบุตรนั้น

                                                                          90
              และผูมีอํานาจตามกฎหมายในการดําเนินการแทนบุตรที่เสียชีวิตไปแลว  ในอันที่จะไดรับรูขอมูลที่เกี่ยวกับบุตร
              ของตน เพื่อไปดําเนินการเรียกรองคาเสียหายที่เกี่ยวของ การดําเนินการดังกลาวยอมไดรับการยกเวน และไมถือ
              เปนการแทรกแซงสิทธิในความเปนอยูสวนตัวของบุตรนั้น อันจะถือวาการกระทํานั้นเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชน

              ของบุตรที่เสียชีวิตไปนั้นแตอยางใด

                             4)   สรุป
                                 การที่โรงพยาบาลปฏิเสธที่จะใหขอมูลขาวสารดังกลาวโดยใหเหตุผลวาเปนหลักฐานขอมูล
              ทางการแพทย มิเพียงแตจะเปนการกระทําที่ขัดตอสิทธิในการขอตรวจดูขอมูลสวนบุคคลของบุตรนั้น

              ตามกฎหมายวาดวยขอมูลขาวสารของราชการแลว การกระทําดังกลาวยังเปนการละเมิดสิทธิในความเปนอยู

              สวนตัวของบุตรที่เสียชีวิตนั้นและผูมีสิทธิดําเนินการแทนบุตรนั้นอีกมิติหนึ่งดวย อันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชน
              ของบุตรที่เสียชีวิตนั้นและผูมีสิทธิดําเนินการแทนบุตรนั้น
                       4.2.4   กรณีการติดตอหรือสงขอความเพื่อขายสินคาหรือบริการแกบุคคลอันกอใหเกิด

              ความเดือดรอนรําคาญ

                              1)  ขอเท็จจริง
                                   ในปจจุบันปรากฏขอเท็จจริงวาผูประกอบธุรกิจจํานวนไมนอย โดยเฉพาะผูประกอบธุรกิจ
              ขายตรงและตลาดแบบตรงไดใชวิธีการตาง ๆ ในการติดตอเพื่อขายสินคาหรือบริการ เชน การโทรศัพท

              การสงขอความสั้นทางโทรศัพทเคลื่อนที่ การสงขอความทางไปรษณียอิเล็กทรอนิกส โดยผูที่ไดรับการติดตอ

              ขอมูลตาง ๆ นั้น มิไดใหความยินยอมดวย การกระทําดังกลาวกอใหเกิดความเดือดรอนรําคาญตอความเปนอยู
              สวนตัวของผูที่ไดรับการติดตอ
                         2)   ประเด็นปญหาทางกฎหมาย

                                 ประเด็นที่หนึ่ง ขอมูลเกี่ยวกับเบอรโทรศัพท ที่อยูอาศัยของบุคคลหนึ่งมีลักษณะเปนขอมูล

              สวนบุคคลอันเกี่ยวดวยสิทธิในความเปนอยูสวนตัวหรือไม





              90   กฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2541) ออกตามความในพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540
                 ขอ 4 “ในกรณีเจาของขอมูลถึงแกกรรม และมิไดทําพินัยกรรมกําหนดไวเปนอยางอื่น ใหบุคคลดังตอไปนี้มีสิทธิดําเนินการแทน
                ตามมาตรา 24 ไดตามลําดับกอนหลัง ดังตอไปนี้
                     (1) บุตรชอบดวยกฎหมายหรือบุตรบุญธรรม
                          (2) คูสมรส
                     (3) บิดาหรือมารดา
                     (4) ผูสืบสันดาน
                     (5) พี่นองรวมบิดามารดา
                     (6) คณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ”
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102