Page 102 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 102

รายงานการศึกษาวิจัย  87
                                        เรื่อง ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว





                                ประเด็นที่สอง การที่ผูประกอบกิจการขนสงปดปายโฆษณาบนหนาตางรถโดยสารประจําทาง
               บนหนาตางตูรถไฟหรือตูรถไฟฟา อันเปนการบดบังทัศนียภาพภายนอก เปนการแทรกแซงสิทธิในความเปนอยูสวนตัว
               อันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนของผูโดยสารหรือไม

                                เมื่อการมองเห็นทัศนีภาพภายนอกรถโดยสารในระหวางการเดินทางเปนสิทธิเสรีภาพของ

               บุคคลอันเกี่ยวดวยสิทธิในความเปนอยูสวนตัวของบุคคลเกี่ยวกับชีวิตรางกาย ในลักษณะที่เปนศักดิ์ศรีความ
               เปนมนุษย ดังที่ไดกลาวแลวขางตน สิทธิเสรีภาพสวนบุคคลดังกลาวยอมจะตองไดรับการเคารพจากบุคคลอื่นใด
               ในอันที่จะตองไมกระทําการใด ๆ อันเปนการกระทบตอสิทธิเสรีภาพดังกลาว โดยนัยดังกลาว การที่ผูประกอบกิจการ

               ขนสงปดปายโฆษณาบนหนาตางรถโดยสารประจําทาง บนหนาตางตูรถไฟหรือตูรถไฟฟา อันเปนการบดบัง

               ทัศนียภาพภายนอก ยอมเปนการแทรกแซงสิทธิในความเปนอยูสวนตัวของผูโดยสารโดยมิชอบดวยกฎหมาย
               และเปนการกระทําอันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนของผูโดยสาร
                                นอกจากนี้ ศาลปกครองสูงสุดไดเคยมีคําวินิจฉัยที่เกี่ยวของกับปญหาดังกลาวในคดี

               ที่ อ. 231/2550 ซึ่งสรุปสาระสําคัญไดวา ผูโดยสารรถไฟขบวนดวนพิเศษกรุงเทพฯ-เชียงใหม เปนประจํา

               ไดฟองคดีตอศาลปกครองวา ไดรับความเดือดรอนเสียหายจากการที่การรถไฟแหงประเทศไทย (ผูถูกฟองคดี)
               อนุญาตใหเอกชนดําเนินการติดตั้งแผนปายโฆษณาบริเวณกระจกหนาตางภายนอกตูรถโดยสารของขบวนรถไฟ
               ทําใหผูโดยสารรถไฟไมอาจมองเห็นทิวทัศนสองขางทางรถไฟไดอยางชัดเจน และยังทําใหเกิดอาการตาพรามัวและ

               คลื่นไส ซึ่งผูฟองคดีไดมีหนังสือรองทุกขตอผูถูกฟองคดีเพื่อใหขูดลอกแผนปายโฆษณาดังกลาวออกจากหนาตาง

               ตูรถโดยสารแลว แตไมไดรับการแกไขแตอยางใด ผูฟองคดีเห็นวาการที่ผูถูกฟองคดีไมดําเนินการตามคํารองเรียน
               ของผูฟองคดีนั้น เปนการละเลยตอหนาที่ตามที่กฎหมายกําหนดใหตองปฏิบัติ จึงนําคดีมาฟองตอศาลปกครอง
               ขอใหมีคําพิพากษาหรือคําสั่งใหผูถูกฟองคดีดําเนินการลอกแผนปายโฆษณาออกจากกระจกหนาตางของ

               ตูรถโดยสารทุกสายทั่วประเทศและทําความสะอาดกระจกหนาตางตูโดยสารของขบวนรถไฟทุกขบวนใหสะอาด

                                ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยวา มาตรา 9 แหงพระราชบัญญัติการรถไฟแหงประเทศไทย
               พ.ศ. 2494 บัญญัติใหผูถูกฟองคดีมีอํานาจหนาที่ในการจัดทํากิจการรับขนสงผูโดยสาร สินคา พัสดุภัณฑและ
               ของอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับกิจการรถไฟซึ่งบริการสาธารณะ โดยในการจัดทํากิจการสาธารณะดังกลาว นอกจาก

               จัดใหมีขบวนรถไฟสําหรับขนสงผูโดยสาร สินคา พัสดุภัณฑ และของอื่น ๆ อยางเพียงพอแกความตองการของ

               ประชาชนแลว ผูถูกฟองคดีจะตองดูแลรักษาสวนตาง ๆ ของตูรถโดยสารของขบวนรถไฟซึ่งเปนเครื่องมือสําคัญ
               ที่ใชในการจัดทําบริการสาธารณะดังกลาว เชน ที่นั่ง ที่นอนของผูโดยสาร รวมทั้งประตูหนาตางของตูรถโดยสาร
               ใหอยูในสภาพที่ใชการไดดีและสามารถอํานวยความสะดวกสบายในการเดินทางใหแกผูโดยสารไดตามสมควร

               ซึ่งในสวนของหนาตางนั้นรถโดยสารทุกชนิด ไมวาจะเปนรถโดยสารสวนบุคคล หรือรถโดยสารสาธารณะและไมวา

               จะเปนรถโดยสารปรับอากาศหรือรถโดยสารไมปรับอากาศ จะตองมีหนาตาง โดยหนาตางรถโดยสารมิไดมีไว
               เพียงเพื่อใหแสงสวางจากภายนอกรถเขาไปในรถไดเทานั้น แตยังมีไวเพื่อใหผูโดยสารสามารถมองเห็น
               สรรพสิ่งที่อยูนอกรถเพื่อใหเกิดความเพลิดเพลินในระหวางที่อยูในรถและระแวดระวังภยันตรายที่อาจจะมีจาก

               ภายนอกรถอีกดวย รถโดยสารที่ไมมีหนาตางจึงไมอาจเรียกไดวารถโดยสารแตเปนรถขนสงสินคาและพัสดุภัณฑ
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107