Page 94 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 94

รายงานการศึกษาวิจัย  79
                                        เรื่อง ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว





                                  อนึ่ง นอกจากสิทธิในความเปนอยูสวนตัวจะไดรับการรับรองและคุมครองแมกระทั่งบุคคลนั้น
               ไดถึงแกความตายไปแลวดังกลาวขางตน กรณีเด็กในครรภมารดาซึ่งยังไมมีสภาพบุคคลก็ยอมไดรับการรับรองและ
               คุมครองศักดิ์ศรีความเปนมนุษยเชนเดียวกัน ถึงแมสภาพบุคคลตามประมวลกฎหมายแพงจะเริ่มตนเมื่อมีคลอด

               แตเนื่องจาก “สิทธิความเปนอยูสวนตัว” ซึ่งเปนสวนหนึ่งของ “สิทธิในชีวิตและรางกาย” ที่เปนสิทธิติดตัว

               ปจเจกบุคคลมาตั้งแตเกิดเปนสิทธิของปจเจกบุคคลที่มีอยูในสภาวะธรรมชาติ สิทธิในชีวิตและรางกายจึงไมอาจจะ
               ถูกพรากไปจากบุคคลได แตในทางตรงกันขามอาจทําใหไดรับหลักประกันมากขึ้นโดยบทบัญญัติกฎหมาย สิทธิใน
               ชีวิตและรางกายเปนสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษยที่จําเปนอยางยิ่งตอการดํารงอยูของมนุษย และเปนสิทธิขั้นพื้นฐาน

               ที่แสดงใหเห็นวามนุษยมีอิสระที่จะกําหนดตนเองไดตามเจตจํานงที่ตนประสงค จากการที่มนุษยมีเจตจํานง

               โดยอิสระในอันที่จะสรางสภาพแวดลอมของตนเองหรือพัฒนาบุคลิกภาพของตนเองนี้เองที่ทําใหมนุษยแตกตางจาก
               สิ่งมีชีวิตอื่นๆ ดังนั้น เพื่อเปนการเคารพในสิทธิในชีวิตและรางกายของปจเจกบุคคล บุคคลแตละคนจึงตองเคารพ
               ในขอบเขตสวนบุคคลของแตละคน และดวยเหตุนี้ สิทธิในชีวิตและรางกายจึงเปนรากฐานอันสําคัญของ “ศักดิ์ศรี

               ความเปนมนุษย” ซึ่งคุณคาอันมีลักษณะเฉพาะของศักดิ์ศรีความเปนมนุษยนั้น ไมไดขึ้นอยูกับการทําใหเปนจริง

               ของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ดังนั้น กรณีจึงอาจเปนการแทรกแซงในศักดิ์ศรีความเปนมนุษยได แมวาบุคคลนั้นจะยังไม
               ถือกําเนิดหรือบุคคลนั้นไดตายไปแลวก็ตาม ดังนั้น ในกรณีนี้จังไมอาจจะอาศัยหลักสิทธิเรียกรองในทางแพงมาเปน
               เกณฑในการพิจารณาเรื่องดังกลาวได

                                  โดยนัยดังกลาว การทําแทงเด็กในครรภมารดาที่มิไดเปนไปตามเงื่อนไขของกฎหมาย หรือ

               การที่รัฐมิไดเขาไปปกปองตอชีวิตของเด็กในครรภมารดาดังกลาว กรณียอมเปนการขัดกับมาตรา 1 (ศักดิ์ศรีความ
                                                                                                           87
               เปนมนุษย) ของรัฐธรรมนูญแหงสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี ซึ่งศาลรัฐธรรมนูญของสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี
               ไดเคยวินิจฉัยวากฎหมายอาญาที่อนุญาตใหทําแทงไดเปนโมฆะ โดยไดใหเหตุผลวา ชีวิตที่ไดรับการพัฒนาอยูใน

               ครรภมารดานั้นถือวาเปนชีวิตอีกชีวิตหนึ่ง    ซึ่งอยูภายใตการคุมครองของรัฐธรรมนูญ ซึ่งตามมาตรา 2(2) “บุคคล

               มีสิทธิในชีวิตและรางกาย” และตามมาตรา 1 วรรคหนึ่ง ศักดิ์ศรีความเปนมนุษยนั้นไมอาจถูกลวงละเมิดได ดังนั้น
               จึงเปนภาระหนาที่ของรัฐที่จะตองใหเคารพและใหความคุมครอง โดยหนาที่ในการใหความคุมครองของรัฐนั้นมิได
               หมายความเฉพาะการหามแทรกแซงโดยตรงของรัฐตอชีวิตที่เติบโตในครรภมารดาเทานั้น หากแตรัฐยังจําเปน

               ตองใหความคุมครองและปกปองชีวิตดังกลาวดวย

                        4.2.3   กรณีการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับเวชระเบียน
                         1)   ขอเท็จจริง
                                  บิดาของบุตรที่เสียชีวิตไดขอขอมูลเกี่ยวกับเวชระเบียนของบุตรนั้นจากโรงพยาบาล

               ที่บุตรนั้นรับการรักษาพยาบาลกอนเสียชีวิต ตลอดจนรายงานการรักษาพยาบาลของแพทยและพยาบาล เอกสาร

               สรุปประวัติการรักษา และใบแจงสาเหตุการตาย รวมทั้งเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวของทั้งหมด หากแตโรงพยาบาล
               ปฏิเสธที่จะใหขอมูลขาวสารดังกลาวโดยใหเหตุผลวาเปนหลักฐานขอมูลทางการแพทย








               87  BVerfGE 39, 1.
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99