Page 89 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 89

74     รายงานการศึกษาวิจัย
                 เรื่อง  ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว





                             ทั้งนี้ คําวา “สิทธิมนุษยชน” หมายความวา ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิ ทธิ เสรีภาพและ
              ความเสมอภาคของบุคคลที่ไดรับการรับรองหรือคุมครองตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย หรือตาม
              กฎหมายไทย หรือตามสนธิสัญญาที่ประเทศไทยมีพันธกรณีที่จะตองปฏิบัติตาม

                             เมื่อสิทธิในความเปนอยูสวนตัวเปนสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานของมนุษยอันเกี่ยวกับศักดิ์ศรี

              ความเปนมนุษยดังที่ไดกลาวขางตนแลว สิทธิในความเปนอยูสวนตัวจึงอยูในขอบเขตของนิยามคําวา
              “สิทธิมนุษยชน” ดังกลาวขางตน
                             โดยนัยดังกลาว คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติจึงมีอํานาจหนาที่ในการตรวจสอบ

              การกระทําหรือการดําเนินมาตรการใดอันเปนการแทรกแซงหรือรุกลํ้าสิทธิในความเปนอยูสวนตัว


              4.2.   กรณีศึกษาเกี่ยวกับการกระทําที่เปนการแทรกแซงสิทธิในความเปนสวนตัว
                       คณะผูวิจัยไดนําปญหาเกี่ยวกับการกระทําของบุคคลตาง ๆ และในลักษณะตาง ๆ ที่มีการรองเรียนมายัง

                                                                                  84
              คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติมาใชเปนกรณีศึกษาในงานศึกษาวิจัยนี้  เพื่อนําเสนอความเห็นและ
              ขอเสนอแนะเกี่ยวกับการตรวจสอบและการพิจารณาของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติตอไป การกระทํา

              ในลักษณะตาง ๆ ที่นํามาใชเปนกรณีศึกษา ไดแก กรณีตาง ๆ ดังตอไปนี้
                       (1)   กรณีการจัดใหผูปวยโรคเอดสเขารับการอบรมเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวสําหรับผูปวยโรคเอดส โดยที่

              ผูปวยนั้นมิไดแสดงความประสงคที่จะเขารับการอบรม
                       (2)   กรณีการนําศพของผูปวยโรคเอดสมาจัดแสดงนิทรรศการ โดยระบุรายละเอียดเกี่ยวกับ

              ผูปวยนั้น
                       (3)   กรณีการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับเวชระเบียน

                       (4)   กรณีการติดตอหรือสงขอความเพื่อขายสินคาหรือบริการแกบุคคลอันกอใหเกิดความเดือดรอน
              รําคาญ

                       (5)   กรณีการเปดภาพยนตรหรือเพลงบนในรถโดยสารระหวางจังหวัดอันเปนการรบกวนผูโดยสาร
                       (6)   กรณีการปดปายโฆษณาบนหนาตางรถโดยสารประจําทางหรือรถไฟฟาอันเปนการบดบัง

              ทัศนียภาพภายนอก
                       (7)   กรณีการถายภาพของผูอื่นโดยผูที่ถูกถายภาพนั้นไมไดใหความยินยอมและนําไปพิมพเผยแพร

                       (8)   กรณีเรือนจําหรือหองขังมีความเปนอยูอยางแออัด ขาดสุขลักษณะที่ดี
                       (9)   กรณีการตรวจดูหรือเปดอานจดหมายของผูตองขังในเรือนจํา

                       (10) กรณีการติดกลองโทรทัศนวงจรปด (CCTV) ในหองขังของผูตองขัง หรือสถานที่สาธารณะ
              เพื่อประโยชนในการรักษาความปลอดภัย เชน โรงภาพยนตร

                       (11)  กรณีเจาหนาที่ตํารวจนําตัวผูตองหาไปทําแผนประกอบคํารับสารภาพ หรือการที่เจาหนาที่ตํารวจ
              ไดเผยแพรภาพถายของผูตองหาในคดีอาญาไปตามสื่อตาง ๆ



              84  ขอมูลตาง  ๆ  ที่เกี่ยวกับการกระทําอันอาจกอใหเกิดปญหาการรุกลํ้าหรือกระทบสิทธิในความเปนสวนตัวของบุคคล  คณะผูวิจัย
                ไดสรุปจากผลการรับฟงความคิดเห็นรวมกันระหวางคณะผูศึกษาวิจัยและเจาหนาที่สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
                แหงชาติ ณ หองประชุมสํานักวิจัย สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ในวันที่ 9 มีนาคม 2555
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94