Page 68 - รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง ปัญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุ้มครองสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว
P. 68

รายงานการศึกษาวิจัย  53
                                        เรื่อง ปญหาและมาตรการทางกฎหมายในการรับรองและคุมครองสิทธิในความเปนอยูสวนตัว





                          หลักการทั้ง 4 ขอนี้ ไดพัฒนาและบัญญัติเปนกฎหมายลักษณะละเมิด(Restatement (Second)
               of Tort) ในมาตรา 652A - 652D24 มีผลใชบังคับในประเทศสหรัฐอเมริกาจนถึงปจจุบันแนวทางในการพิจารณา
               วาเปนการละเมิดสิทธิสวนบุคคลหรือไมนั้น ประเทศสหรัฐอเมริกาไดกําหนดไวใน Restatement of Torts §§ 652

                   67
               A - I  ซึ่งมีหลักเกณฑในการพิจารณา ดังนี้
                          (1)  การใชชื่อ/รูปถายของบุคคลอื่นเพื่อประโยชนทางการคาของตน (Appropriation) ไดแก
                              -  การแตงตัวหรือทําบุคลิกใหเหมือนบุคคลนั้น (Look-alikes)
                              -  การเลียนแบบเสียงใหเหมือนบุคคลนั้น (Sound-alikes) ยกเวนเปนกรณีที่พื่อใหขอมูล

               และเสนอขาว

                              -  ไดรับความยินยอมจากบุคคลนั้นเปนลายลักษณอักษร
                          (2)  การรุกลํ้าทางรางกายของบุคคลอื่นในการที่ผูนั้นประสงคจะอยูตามลําพัง (Intrusion) เชน
               การดักฟงพูดโทรศัพท การใชกลองเลนสซูมระยะไกลเพื่อถายภาพ การแอบซอนไมโครโฟนเพื่ออัดเทป

               การสนทนา ฯลฯ

                          ขอสังเกต ในที่สาธารณะไมถือวามีสิทธิความเปนสวนตัว (No Privacy in Public) ดังนั้น
               การถูกถายภาพในงานคอนเสิรตจึงไมใชการรุกลํ้าความเปนสวนตัวเพราะเปนสถานที่ที่ คนทั่วไปสามารถ
               พบเห็นไดอยางเสรี

                          (3)  การตีพิมพเรื่องราวสวนตัวของบุคคลอื่นในลักษณะเกินเลยความพอดี หรือเปนการลวงละเมิด

               ตอการดําเนินชีวิตปกติของบุคคลนั้น (Publication of Private Information) หมายถึง
                              -  เปนการตีพิมพขอมูลสวนบุคคลของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
                              -  การเปดเผยดังกลาวมีลักษณะลวงละเมิดในมุมมองของบุคคลทั่วไป

                              -  ขอมูลดังกลาวไมเกี่ยวของหรือเปนประโยชนตอสาธารณชนตามกฎหมาย

                          (4)  การเผยแพรขอมูลสวนบุคคลอันเปนเท็จตอสาธารณะ (False Light) หมายถึง การเผยแพร
               ขอมูลสูสาธารณชนโดยทําใหผูอื่นไดรับความเสื่อมเสีย โดยมีองคประกอบ ดังนี้
                              -  เปนการเผยแพรขอมูลสวนบุคคลอันเปนเท็จ

                              -  ขอความอันเปนเท็จนั้นกอใหเกิดความเสียหายในมุมมองของบุคคลทั่วไป

                              -  ผูเผยแพรมีเจตนาทุจริตในขณะกลาวหาบุคคลอื่น
                        2.4.2   กฎหมายเกี่ยวกับการรับรองและคุมครองสิทธิสวนบุคคลของผูตองขัง 68
                              สามารถสรุปหลักเกี่ยวกับการรับรองและคุมครองสิทธิสวนบุคคลของผูที่ถูกจํากัดอิสรภาพ

               ตามรัฐธรรมนูญของสหรัฐอเมริกาและแนวทางคําพิพากษาของศาลสูงที่สําคัญได ดังนี้










               67  บุญสิทธิ์ บุญโพธิ์., สื่อมวลชนกับการละเมิดสิทธิสวนบุคคล, วารสารนักบริหาร ปที่ 30 ฉบับที่ 1 (ม.ค.- มี.ค. 2553) หนา 86-88
               68  โครงการศึกษาวิจัย เรื่อง สิทธิผูตองหา จําเลย และผูตองโทษในคดีอาญา ,อางแลวเชิงอรรถที่ 16
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73